1.26k likes | 1.88k Views
การจัดการความรู้ เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้. ตัวท่าน พร้อมแล้วหรือยัง ? KM leadership ทีมงานของท่าน พร้อมแล้วหรือยัง ? Teamwork สถาบันของท่าน พร้อมแล้วหรือยัง ? LO. Objective. 1. Basic concept of KM (Knowledge Management) 2. Mini-workshop (share&learn). Objective.
E N D
การจัดการความรู้ เพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
ตัวท่าน พร้อมแล้วหรือยัง? KM leadershipทีมงานของท่าน พร้อมแล้วหรือยัง? Teamworkสถาบันของท่าน พร้อมแล้วหรือยัง? LO
Objective 1. Basic concept of KM (Knowledge Management) 2. Mini-workshop (share&learn)
Objective KM ? VS MK ?
การจัดการความรู้ vs การจัดการความไม่รู้ Knowledge management Knowless management
องค์กรของท่านมีปัญหาเหล่านี้หรือไม่ ? •เวลามีปัญหาในการทำงาน ไม่ทราบว่าจะไปถามใคร ผู้ที่เก่งในเรื่องนั้นอยู่ที่ไหน •ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูลขององค์กร ซึ่งส่วนใหญ่หาไม่ค่อยพบ หรือถ้า พบข้อมูลก็ไม่ทันสมัย ไม่สมบูรณ์ หรือไม่ตรงตามที่ต้องการ • คนในองค์กรมีผู้ทรงความรู้จำนวนมาก แต่ไม่สนใจในการเพิ่มและแบ่งปันความรู้ • องค์กรมีการสร้าง/แลกเปลี่ยน/ประยุกต์ใช้ความรู้แบบไม่เป็นระบบ • การตัดสินใจของผู้บริหาร มักกระทำโดยไม่ได้ใช้ความรู้ที่ดีที่สุดที่มีอยู่ในองค์กร •มีข้อมูล+สารสนเทศท่วมท้น แต่ไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง •องค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ไม่ได้ถูกนำมาใช้ แลกเปลี่ยน ต่อยอดความรู้ใหม่ แต่เป็นการทำงานโดยใช้ความรู้ที่ซ้ำซ้อนกับคนอื่น ที่ได้ทำมาแล้ว
Question เราเสียเวลา / เสียทรัพยากร ในการจัดการความรู้เพื่ออะไร ? เราต้องการอะไร? จากการจัดการความรู้
มาตรฐานการศึกษาของชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ
IQA 44 indicator โครงร่างองค์กร ( 1.1 ) ( 2.4, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8, 2.13, 4.1, 4.3, 5.2, 7.4 ) 5 การม่งเน้นที่ ทรัพยากรบุคคล 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 1 การนำองค์กร 7 ผลลัพธ์ของ การดำเนิน 3 การมุ่งเน้น ผู้รับบริการ 6 การจัดการ กระบวนการ ( 7.1, 7.2, 7.8, 8.1 ) 7.1 – 2.9, 2.10, 2.12, 7.6 7.2 – 2.11, 5.3, 5.4, 7.6 7.3 – 8.2 7.4 – 7.7 7.5 – 1.2, 4.4, 4.5, 5.5, 6.2, 6.3, 9.3 7.6 – 7.9, 9.3 ( 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.13, 4.1, 5.1, 6.1, 7.8, 8.1, 8.2, 9.1, 9.3 ) ( 2.2, 2.3, 2.4, 3.1, 3.2, 9.2 ) 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ( 4.1, 4.2, 4.3, 7.3, 7.5, 8.1,9.1 )
แรงจูงใจ คือ พลังสำคัญที่สุดในการดำเนินการ KM
แรงจูงใจ ในการจัดการความรู้ 1. พัฒนางานQualityof output/outcome 2. พัฒนาคน Quality culture 3. พัฒนาองค์กร Learning organization
บันได 5 ขั้น ของระบบการเรียนรู้ 5 รู้แจ้ง ปัญญาญาณ 4 เรียนรู้ เลียนแบบ พัฒนาต่อยอด 3 เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ 2 รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้ 1 ไม่รู้ ไม่รู้ไม่ชี้vs. ไม่รู้แล้วชี้
ฟังบรรยายอย่างเดียว ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ที่จะเพิ่มศักยภาพในการเรียนรู้ KM
การจัดการความรู้ คือ ...............
การจัดการความรู้ คือ…? การจัดการองค์ความรู้ การจัดการกระบวนการชีวิตขององค์ความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ของทีมงาน ..................................... .....................................
การจัดการความรู้ คือ…? The process through which organizations generate value from their intellectual and Knownledge-based assets KM Research Center
การจัดการความรู้ คือ…? A systematic process of connecting people to people and people to the knownledge and information they need to effectively act and create new knownledge American Productivity and Quality Center
กรอบความคิด KM ของ Bonnie Rubenstaein-Montano • การค้นหาว่าองค์กรมีความรู้อะไรบ้าง ชนิด/รูปแบบใด อยู่ที่ใครและความรู้ที่จำเป็นต่อองค์กรมีอะไรบ้าง (Knowledge identification) • การสร้างและแสวงหาความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) • การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) • การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) • การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) • การแลกเปลี่ยน และแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) • การเรียนรู้ (Learning)
Create/Leverage สร้างความรู้ ยกระดับ ความรู้ซ่อนเร้น Tacit Knowledge เรียนรู้ร่วมกัน Capture& Learn มีใจ/แบ่งปัน Care & Share เน้น 2 P People & Process แนวคิด “การจัดการ” ความรู้ Access/Validate เข้าถึง ตีความ ความรู้เด่นชัด Explicit Knowledge นำไปปรับใช้ รวบรวม/จัดเก็บ store apply/utilize เรียนรู้ ยกระดับ เน้น 2 T Tool & Technology
เรารู้ ได้มากกว่า เราพูด เราพูด ได้มากกว่า เราเขียน
KM ส่วนใหญ่ ไป“ผิดทาง” อย่าลืมว่า ต้อง “สมดุล” ให้ความสำคัญกับ“2P” People & Processes ให้ความสำคัญกับ “2T” Tool & Technology
KM วิธีคิดทั่วไป KM • คิดจากเหตุไปหาผล • คิดจากผลไปหาเหตุ • เริ่มจาก “ทุกข์”(ปัญหา) • เริ่มจาก “สุข”(ความสำเร็จ) • ฐานความคิดแบบเส้นตรง ระนาบเดียว • ฐานความคิดที่ไม่เป็นเส้นตรง /ซับซ้อน / หลายมิติ • ปฏิบัตินำความคิด-ปัญญาปฏิบัติ(practical-wisdom exercise) • ความคิดนำความคิด- ปัญญาไตร่ตรอง(intellectual exercise) • เน้นปัญญาปัจเจก • เน้นปัญญารวมหมู่
KM วิธีคิดทั่วไป KM • มีสมมติฐานว่าผู้ปฏิบัติ • ไม่มีความรู้ • มีสมมติฐานว่ามีความรู้อยู่ในการปฏิบัติ/ผู้ปฏิบัติ • เรียนรู้โดยเน้นการรับถ่ายทอด • เรียนรู้โดยเน้นการปฏิบัติ • มุ่งบรรลุ ผลเลิศ ในขั้นตอนเดียว • มุ่งบรรลุ ผลเลิศ ทีละน้อย • เน้นเป้าหมายปลายทาง (destination) • เน้นเป้าหมายรายทาง (journey) • เน้นผลลัพธ์ • เน้นทั้งผลลัพธ์ และกระบวนการ
KM วิธีคิดทั่วไป KM • มุ่งรับถ่ายทอด/เรียนรู้ ความรู้ในกระดาษ • มุ่งรับถ่ายทอด/เรียนรู้ ความรู้ในคน • มุ่งคิดริเริ่มเอง • มุ่งเรียนลัดจากผู้มีผลเลิศ • มุ่งเด่นเดี่ยว ยอมรับเฉพาะ เด่น 5 ดาว • มุ่งเด่นกลุ่ม ยอมรับ เด่นหลายระดับ 2-5 ดาว • เน้นขับเคลื่อนด้วยแรงกดดัน • เน้นขับเคลื่อนด้วยความชื่นชม • หวง/ปกปิด ความรู้ • ให้/แบ่งปัน/แลกเปลี่ยน ความรู้
KM ไม่ใช่องค์ความรู้ KM เป็นเครื่องมือในการพัฒนา (tool)
??? Knowledge = Research ??? KM & Research methodology ? KM ไม่ใช่เครื่องมือที่จัดการกับตัวความรู้โดยตรง แต่เป็นวิธีการที่ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างมนุษย์ O’ Dell (1998)
การสัมมนา KM ก่อนสัมมนา ท่านงงกับ KM หลังสัมมนา ท่านจะงงกับ KM มากขึ้น ก่อนสัมมนา ท่านจะรับรู้ ระหว่างสัมมนา ท่านจะเลียนรู้ หลังสัมมนา ท่านจะเรียนรู้ อนาคต(คาดหวังว่า) ท่านจะเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้
Storytelling - dialogue ให้ผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (คุณกิจ) ปลดปล่อย tacit knowledge ที่ซ่อนอยู่ออกมาจาก “การปฏิบัติจริง/ประสบการณ์”
Share + Learn give + take ไม่รู้ว่าตัวเองมี+ ในสิ่งที่ตัวเองไม่มี
wisdom Knowledge Information Data Knowledge Management ( KM ) Information Management ( IM ) Data Management ( DM )
KS K = ( IK + EK ) KS Knowledge = ( Human + IMS ) IK = Implicit Knowledge EK = Explicit Knowledge Knowledge= องค์ความรู้ Human = คน IMS = ระบบการจัดการ/รวบรวม/จัดเก็บความรู้/คลังความรู้ KS = กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( AABC-1996 )
Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs “คุณกิจ” Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner Model “ปลาทู” KA KS KV
แบบฝึกหัดเขียนเรื่องเล่าแบบฝึกหัดเขียนเรื่องเล่า ประสบการณ์ส่วนตัวหรือที่ภาคภูมิใจ วิธีการหรือเทคนิค ในการวางแผนที่ประสบผลสำเร็จ ครึ่งหน้ากระดาษ A4 - 10 นาที
กำหนดหัวปลาและสร้างตัวปลากำหนดหัวปลาและสร้างตัวปลา • Session 1ดึงความรู้ที่อยู่ในคนออกมา : เรื่องเล่าความสำเร็จ (Storytelling)และสร้างขุมความรู้ (Key Success Factor) • Session 2 สังเคราะห์ “ขุมความรู้” เป็น “แก่นความรู้”(Core Competence)และการสร้าง “ตารางแห่งอิสรภาพ”
หาหางปลามาต่อตัวปลา • Session 3 • 3.1 ประเมินตนเอง • 3.2 สร้างธารปัญญา • 3.3 สร้างบันไดแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • Session 4 สร้างเครือข่ายและเวทีตลาดนัดแห่งการเรียนรู้ • Session 5 WebBlog-เวทีเสมือน :-Gotoknow สร้างชุมชนนักปฏิบัติ - CoP • Session 6 AAR & Future Plan
เล่าเรื่อง วิธีการหรือเทคนิคในการวางแผนที่ประสบผลสำเร็จ Process แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตัวปลา
Process ร่วมกัน “ตีความ” ถอดเป็น “ขุมความรู้” ขุมความรู้ หางปลา
จาก “ขุมความรู้” (Knowledge Assets) .......สู่........ “แก่นความรู้” (Core Competence) สังเคราะห์ “แก่นความรู้”
เป้าหมาย-หัวปลา การจัดการความรู้ ไม่มีเป้าหมายในตัวเอง แต่เป็นเครื่องมือ ที่ใช้ในการบรรลุเป้าหมาย
Core competency For IQA - TUCC • การมีศักยภาพของผู้นำ 2. การวางแผนและกำหนดเป้าหมาย 3. การสร้างแรงจูงใจ 4. การมีศักยภาพของบุคลากร 5. การทำงานเป็นทีม 6. การประสานงาน
Core competency For IQA - TUCC 7. การกำหนดดัชนีอย่างชัดเจน 8. การจัดเก็บระบบเอกสารหลักฐาน 9. การนำระบบสารสนเทศมาใช้ 10. การลงมือปฏิบัติจริง 11. การนำผลประเมินมาปรับปรุงและแก้ไข ปัญหา
การจัดการความรู้ คือ ............... เครื่องมือหรือวิธีการเพิ่มมูลค่าหรือคุณค่าขององค์กร/ กลุ่มบุคคล หรือเครือข่ายขององค์กร/กลุ่มบุคคล การจัดการความรู้ไม่ได้มีความหมายเพียงแค่ การนำ “ความรู้” มา “จัดการ”
การจัดการความรู้ • มีความหมายรวมถึง การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้างเป็นความรู้ • เกี่ยวข้องกับการแบ่งปันความรู้ (knowledge sharing) • ต้องการผู้ทรงความรู้ความสามารถในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้ • เป็นการเพิ่มประสิทธิผลขององค์การ
การจัดการความรู้ –ต้องทำครบ 3 องค์ประกอบ • ความรู้ฝังลึกในคน • ความรู้แฝงในองค์กร/เครือข่าย • ความรู้เปิดเผยทั่วไป-หนังสือ/ตำรา/วารสาร • โดยจะต้องมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนากิจกรรมหลัก • ( core activities) ขององค์กร กลุ่มบุคคลหรือเครือข่าย
การจัดการความรู้ ประกอบด้วยกระบวนการ • การขุดค้นและรวบรวมข้อมูล เน้นความรู้ที่จำเป็นสำหรับใช้ประโยชน์ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร นำมาตรวจสอบความเชื่อถือและเหมาะสมกับบริบทขององค์กร ถ้าไม่เหมาะสมก็ปรับปรุง • การจัดหมวดหมู่ความรู้ ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน • การจัดเก็บ ความรู้ เพื่อให้ค้นหาได้ง่าย • การสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความรู้ • การจัดกิจกรรมและกระบวนการเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ • การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อยกระดับความรู้ • การสร้างความรู้ใหม่ • การประยุกต์ใช้ความรู้ • การเรียนรู้จากการใช้ความรู้
การจัดการความรู้ มีความหมาย....... • กว้างกว่าการจัดการสารสนเทศ • กว้างกว่าการจัดการข้อมูล • กว้างกว่าการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • # การจัดการความรู้มีอยู่แล้วตามธรรมชาติในทุกคน ทุกองค์กร ทุกเครือข่าย และทุกสังคม แต่เป็นการจัดการความรู้ที่ทำโดยไม่มีระบบแบบแผนและขาดพลัง • # การจัดการความรู้คือ เครื่องมือพัฒนาผลงานของบุคคล องค์กร เครือข่าย และพัฒนาสังคมในยุคสังคม–เศรษฐกิจบนฐานความรู้
Life cycle of knowledge SECI cycle(Nonaka&Takuechi) S Socialization I K E K I E Internalization Externalization C Combination