590 likes | 846 Views
การประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ธันวาคม 2550. ความเข้าใจเกี่ยวกับ การบริหารผลการปฏิบัติงาน. การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นเรื่องใหม่ถอดด้าม ไม่ใช่ เรื่องใหม่สำหรับ ข้าราชการพลเรือน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน
E N D
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน 4 ธันวาคม 2550
ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน • การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นเรื่องใหม่ถอดด้าม ไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับข้าราชการพลเรือน • การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การบริหารผลการปฏิบัติงาน เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน
ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน • การบริหารผลการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัด (KPIs) เป็นเพียง ก็คือ KPIs เครื่องมือสำหรับการบริหารผล การปฏิบัติงาน . การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน เน้นที่การลงโทษมุ่งเน้นที่การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานมากกว่าการลงโทษ
ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน • การบริหารผลการปฏิบัติงาน การบริหารผลการปฏิบัติงาน มอบหมายให้ไปไปทำเอกสาร ในองค์กรภาครัฐ ต้องอาศัย มาก็เสร็จแล้ว ระยะเวลา และกระบวนการ ในการสร้างการยอมรับ ตลอดจนการสร้างความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นต่อข้าราชการ ในทุกระดับ
องค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานองค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน ผลสัมฤทธิ์หลัก (KEY RESULT AREA: KRA) ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KEY PERFORMANCE INDICATOR : KPI)
องค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานองค์ประกอบสำคัญของเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน เป้าหมายผลการปฏิบัติงาน สมรรถนะที่คาดหวัง เป้าหมายในด้านอื่นๆ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับงานตามภารกิจและตำแหน่งหรืองานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ สอดคล้องกับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร ผลสัมฤทธิ์หลัก-KRA ตัวชี้วัด-KPI ค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก-KRA ตัวชี้วัด-KPI ค่าเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับที่กำหนด
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นการประเมินเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่าผลการปฏิบัติงานเป็นอย่างไร อยู่ในระดับใด เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำคัญประกอบการพิจารณาด้านต่าง ๆ เช่น การให้รางวัลหรือการให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน วิธีการทำงาน เป็นเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน มาจาก หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการปัจจุบัน ตามหนังสือ สำนักงาน ก.พ. ที่ นรา 0708.1/ ว 5 ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2544 มุ่งเน้นความสำคัญของวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน เมื่อสิ้นสุดของการประเมินเท่านั้น ไม่สามารถระบุความเชื่อมโยงระหว่างผลการปฏิบัติงาน ระดับบุคคล และผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่สามารถระบุความแตกต่างระหว่างผู้ปฏิบัติงานได้อย่างโปรงใสและเป็นธรรม ไม่มีหลักฐานผลการปฏิบัติงานจริงที่เกิดขึ้น วิธีการ / แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ขาดความยืดหยุ่น ในการปรับใช้ให้เหมาะสมกับ พันธกิจ และลักษณะงานของแต่ละหน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • มิใช่กระบวนการหลักที่จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน • แต่เป็นองค์ประกอบ หนึ่ง ในกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานขององค์กร ในการสร้างเป้าหมายการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกัน • ส่งเสริมให้ข้าราชการได้รับการพัฒนา และใช้สมรรถนะอย่างสัมฤทธิผล • สามารถวัดและประเมินผลการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจนและโปร่งใสมากขึ้น 3
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน • เป็นกระบวนการประเมินและให้ค่าของผลการปฏิบัติงานของแต่ละคนในช่วงเวลาที่กำหนด • ผู้บังคับบัญชา ประเมินผลจากข้อมูลจริง เทียบกับ เป้าหมายการปฏิบัติงาน ที่ได้ตกลงกันไว้ เมื่อเริ่มรอบการประเมิน • เป็นการประเมินเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่า ผลการปฏิบัติงานเป็นอย่างไร 4
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชา ใช้การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา โดยนำ ผล การประเมินใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาด้านต่าง ๆ • การเลื่อนขั้นเงินเดือน การให้รางวัลประจำปีและค่าตอบแทนอื่น ๆ • การพัฒนาและปรับปรุง แก้ไข การปฏิบัติงาน • การแต่งตั้ง/โยกย้ายข้าราชการ • การให้ออกจากราชการ • การให้รางวัลจูงใจ และ การบริหารงานบุคคล เรื่องอื่นๆ ฯลฯ 5
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมินจาก 2 ส่วน 1. ผลสำเร็จของงาน - ความสำเร็จของงานตามยุทธศาสตร์ - งานภารกิจ ซึ่งเป็นงานประจำปีของส่วนราชการ - งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา - งานที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายให้ไปปฏิบัติในฐานะสมาชิกทีมงาน / คณะทำงาน ซึ่งไม่ใช่งานประจำของหน่วยงานต้นสังกัด การประเมินผลสำเร็จของงานจริง - เป็นการประเมินความสำเร็จของงาน เปรียบเทียบ ตามแบบการปฏิบัติงานที่วางไว้เมื่อเริ่มรอบการประเมิน 6
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมิน ผลสำเร็จของงานพิจารณาจากองค์ประกอบ ดังนี้ - ปริมาณงาน - คุณภาพของงาน - ความทันเวลา - การประหยัด หรือ คุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร - ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ 7
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.สมรรถนะ (Competency) / คุณลักษณะในการปฏิบัติงาน - คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจาก ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทำให้บุคคลสามารถสร้างผลงานได้โดดเด่นในองค์กร สมรรถนะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมรรถนะหลัก (Core competency) 2. สมรรถนะประจำกลุ่มงาน (Functional competency) การประเมินสมรรถนะ/ คุณลักษณะในการปฏิบัติที่แสดงจริง เป็นการประเมินพฤติกรรมที่แสดงจริงของผู้ปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับระดับที่กำหนด ไว้ตามระดับของข้าราชการ และลักษณะของงานตามที่หน่วยงานกำหนดไว้ 8
การประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมิน สมรรถนะ / คุณลักษณะพิจารณาจากองค์ประกอบ ดังนี้ 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. จริยธรรม 3. ความร่วมแรง ร่วมใจ 4. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 5. บริการที่ดี 6. การวางแผนและการจัดระบบงาน 7. ความเป็นผู้นำ 8. การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา สมรรถนะหลัก ( Core- Competency )ของข้าราชการพลเรือน 9
การกำหนดสัดส่วนคะแนนประเมินการกำหนดสัดส่วนคะแนนประเมิน กำหนดคะแนนในการประเมน 100 คะแนน แบ่งเป็นสัดส่วน ดังนี้ ผลงาน กำหนดให้มีสัดส่วน ร้อยละ 70 คุณลักษณะ / สมรรถนะ ” ร้อยละ 30 ผลการประเมิน เกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือน แบ่งเป็น 5 ระดับ 1. ระดับ ดีเด่น ร้อยละ 90-100 2. ระดับ ดีมาก ร้อยละ 80 – 89 3. ระดับ ดี ร้อยละ 70 – 79 4. ระดับ พอใช้ ร้อยละ 60 - 69 5. ระดับ ต้องปรับปรุง ร้อยละ ต่ำกว่า 60 อยู่ในเกณฑ์เลื่อนขั้นเงินเดือน 1 ขั้น อยู่ในเกณฑ์เลื่อนขั้นเงินเดือน 0.5 ขั้น ไม่สมควรเลื่อนขั้นเงินเดือน 10
ระยะเวลาของการประเมินระยะเวลาของการประเมิน การประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเมิน ตามรอบปีงบประมาณ แบ่งเป็น 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 31 มีนาคม ของปีถัดไป ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน - 30 กันยายน ของปีเดียวกัน 11
แบบประเมินผลการปฏิบัติงานแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของกรมชลประทาน 1. แบบ ชป. 390 ( แบบ ชป 365 เดิม) 2. แบบ ชป. 390/1 ( เพิ่มใหม่ ) 12
ผลงาน ปริมาณงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ ผลงาน ปริมาณงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากร ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ปฏิบัติได้ เปรียบเทียบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ชป 365 ชป 390 13
คุณลักษณะการปฏิบัติงานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน การวางแผนและการจัดระบบงาน ความเป็นผู้นำ การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ความรับผิดชอบและความอุตสาหะ ความสามารถในการปฏิบัติงาน การรักษาวินัย การปฏิบัติตนเหมาะสมกับการเป็นข้าราชการ คุณลักษณะการปฏิบัติงาน / สมรรถนะ การวางแผนและการจัดระบบงาน ความเป็นผู้นำ การพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา การมุ่งผลสัมฤทธิ์ จริยธรรม ร่วมแรง ร่วมใจ สั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ บริการที่ดี เปรียบเทียบแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ชป 365 ชป 390 สมรรถนะ Core-competency 14
แบบ ชป.390/1 • เป็นแบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่กำหนดเพิ่มจากแบบ ชป.390 • เป็นการประเมินผลสำเร็จของงานจริงเทียบกับผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง • เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา • กำหนดองค์ประกอบสำคัญของการประเมินผลการปฏิบัติงาน • 1. กำหนดเป้าหมายผลการปฏิบัติงาน • 1.1 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ - หมายถึง เป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นเหตุแห่งความสำเร็จของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร • 1.2 เป้าหมายด้านอื่น ๆ - หมายถึง เป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่มาจากภารกิจและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและตำแหน่งที่รับผิดชอบรวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ • 2. มีผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas :KRAs) ซึ่งมีตัวชี้วัดเป้าหมายในการประเมิน 15
ผลสัมฤทธิ์หลัก(Key Result Areas :KRAs) ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs)คือ ผลผลิต หรือผลลัพธ์ของการปฏิบัติงานหรือเป็นสิ่งที่ผู้บังคับบัญชาต้องการจากผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละงานมากที่สุด เพราะฉะนั้นหากการปฏิบัติงานแล้ว ไม่สามารถทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ต้องการได้ แสดงว่าการปฏิบัติงานครั้งนั้นไม่เป็นไปตามเป้าหมาย 16
ตัวชี้วัด ( Key Performance Indicator : KPIs ตัวชี้วัด(KPIs) เป็นดัชนีหรือ หน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของงาน และสามารถแยกแยะความแตกต่างของผลการปฏิบัติงานได้ ดังนั้น ตัวชี้วัดต้องใช้คำขึ้นต้นเป็นหน่วยวัดเสมอ เช่น ร้อยละ / จำนวน / ระดับ เป็นต้น การกำหนดตัวชี้วัดต้องให้สอดคล้องกับผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Result Areas:KRAs) ซึ่งส่วนใหญ่สะท้อนถึง ผลที่ได้รับตามมา(outcome) หรือผลผลิต(Output) 17
การกำหนดตัวชี้วัด การกำหนดตัวชี้วัด พิจารณาจาก SMARTชัดเจน (Specific) วัดได้ ( Measurable)บรรลุได้ (Attainable) สอดคล้อง ( Relevant) ความทันเวลา( Time – related ) ข้อพึงระวังในการกำหนดตัวชี้วัด • มีความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล • ต้องมีปริมาณของตัวชี้วัดที่เหมาะสม • ความท้าทาย และนำไปสู่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน • ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ 18
ประเภทของตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานประเภทของตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน • ด้านคุณภาพ (Quality) เช่น ข้อร้องเรียน ความพึงพอใจของลูกค้า • ด้านปริมาณ(Quantity) เช่น จำนวนหน่วยที่ผลิต จำนวนโครงการที่สำเร็จ ปริมาณการให้บริการ • ด้านเวลา (Timeless) เช่น งานเสร็จตามวันครบกำหนด งานเสร็จภายในรอบเวลา • ด้านความคุ้มค่าของต้นทุน(Cost Effectiveness) เช่น จำนวนเงินที่ใช้จ่าย จำนวนคำแนะนำที่มีการปฏิบัติตาม ค่าใช้จ่ายนอกเหนืองบประมาณ 19
ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลผลิต (Output) กระบวนการทำงาน(Process) ประเภทของตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับข้าราชการในแต่ละระดับ ผู้บริหารองค์กร • ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลลัพธ์ (Outcome) • ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ผลลัพธ์ (Outcome) หัวหน้า ผลผลิต (Output) ผู้ปฏิบัติงาน 20
ผลลัพธ์ (Outcome) ผลผลิต (Output) กระบวนการทำงาน (Process) • ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ • จำนวนหน่วยงานที่ปฏิบัติตามนโยบายที่กำหนด • จำนวนรายงานที่จัดทำแล้วเสร็จในเวลาที่กำหนด • ร้อยละของหลักสูตรที่สามารถจัดอบรมตามแผน • จำนวนวันที่ใช้ในการดำเนินการเฉลี่ย • ร้อยละของเอกสารที่จัดส่งได้อย่างถูกต้อง 21
เป้าหมาย (Target) หมายถึง ตัวเลข เป้าหมายตามหน่วยวัดที่ตัวชี้วัดกำหนดไว้ ซึ่งการกำหนดเป้าหมาย แบ่งเป็น 3 ระดับ เพื่อความชัดเจน ในการติดตาม และประเมินผล ระดับ 3 หมายถึง ผลสำเร็จเกินเป้าหมาย ระดับ 2 หมายถึง ผลสำเร็จตามเป้าหมายระดับ 1 หมายถึง ผลสำเร็จต่ำกว่าเป้าหมาย 22
บทบาทของผู้อำนวยการสำนัก/กองไปจนถึงผู้อำนวยการกลุ่ม/ส่วน/ฝ่ายตลอดจนผู้บังคับบัญชาในการบริหารผลการปฏิบัติงานบทบาทของผู้อำนวยการสำนัก/กองไปจนถึงผู้อำนวยการกลุ่ม/ส่วน/ฝ่ายตลอดจนผู้บังคับบัญชาในการบริหารผลการปฏิบัติงาน • ทำความเข้าใจในเป้าหมายการปฏิบัติงาน และตัวชี้วัดขององค์กรที่ตนเกี่ยวข้อง รวมถึงเป้าหมายการปฏิบัติงานของตนเอง และหน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ ซึ่งมาจากการตกลงกับผู้บังคับบัญชาที่เหนือขึ้นไป • ถ่ายทอดผลสำเร็จของงาน ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายลงไปเป็นผลสำเร็จของงาน โดยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการปฏิบัติงานของตน หน่วยงานรวมทั้งองค์กร โดยร่วมตั้งกับผู้ใต้บังคับบัญชา • ร่วมกับผู้ใต้บังคับบัญชาในการวางแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น โดยการเสริมสร้างสิ่งที่เป็นจุดเด่นตามความเหมาะสม • ติดตามการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการปฏิบัติงานของตนเอง ส่วนงานที่ตนรับผิดชอบและติดตามการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาตามเวลาที่กำหนด โดยอาจสอนงานหรือให้คำแนะนำให้กำลังใจผู้ใต้บังคับบัญชาตามความจำเป็น • ประเมินผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาตามที่ได้ตกลงกันไว้ในเบื้องต้น 23
ข้อควรระวัง • ในการประเมินผลการปฏิบัติงานและการประเมินสมรรถนะ / คุณลักษณะในการ • ปฏิบัติงาน มีข้อควรระวัง • ต้องเข้าใจวัตถุประสงค์ของการประเมิน • ต้องกำหนดเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจนและต้องมีการชี้แจงให้ทุกคนได้รับรู้ก่อนประเมิน • ต้องนำระบบการประเมินไปใช้ควบคู่กับการบริหารงานและทำจนเป็นเรื่องปกติ • ผลของการประเมินต้องเน้นให้เกิดทางบวกมากกว่าทางลบ • ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจของผู้ถูกประเมินก่อนเริ่มการประเมิน • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องมีความยุติธรรมให้ข้อมูลที่เป็นจริง ต้องไม่มีอคติต่อ • ผู้ถูกประเมิน 24
ชื่อและนามสกุลของผู้เข้ารับการประเมินชื่อและนามสกุลของผู้เข้ารับการประเมิน ชื่อตำแหน่งของผู้เข้ารับการประเมิน อัตราเงินเดือนของผู้เข้ารับการประเมิน ณ วันที่ทำข้อตกลงประเมินผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่ 1หมายถึง ระยะเวลา 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป 2 4 5 1 3 7 6 สังกัดของผู้เข้ารับการประเมิน(ฝ่าย/กลุ่ม/ส่วน/โครงการ/สำนัก/กอง ครั้งที่ 2หมายถึง ระยะเวลา 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน ระดับตำแหน่งผู้เข้ารับการประเมิน ชื่อและนามสกุลผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ชื่อตำแหน่งของผู้ประเมิน
ตัวชี้วัดให้กำหนดเป็นระดับความสำเร็จของงานหรือจำนวนรายการผลผลิตของงานแล้วแต่ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินจะกำหนดร่วมกันตัวชี้วัดให้กำหนดเป็นระดับความสำเร็จของงานหรือจำนวนรายการผลผลิตของงานแล้วแต่ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินจะกำหนดร่วมกัน ความสอดคล้องของตัวชี้วัด (ช่องที่ 9) ของโครงการ/กิจกรรม/การดำเนินงานที่ได้รับมอบหมายต่อยุทธศาสตร์ของกรม/ภารกิจของหน่วยงาน 14 15 16 8 9 10 11 เป้าหมาย หรือผลสำเร็จของงานที่คาดหวังกำหนดโดยแบ่งสัดส่วนความสำเร็จของงานเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับ 3หมายถึง ผลสำเร็จของงานเกินกว่าเป้าหมาย ระดับ 2หมายถึง ผลสำเร็จของงานบรรลุเป้าหมาย ระดับ 1หมายถึง ผลสำเร็จของงานต่ำกว่าเป้าหมาย ผลสำเร็จของงานตามที่คาดหวังซึ่งผู้ประเมินและผู้รับการประเมินจะกำหนดหรือตกลงร่วมกันตามแผนปฏิบัติงานประจำปีหรือตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ 12 13 ผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ลงลายมือชื่อในข้อตกลงผลสำเร็จของงานตามเป้าหมายที่กำหนดร่วมกัน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบข้อตกลงผลสำเร็จของงานตามเป้าหมายที่กำหนดร่วมกัน
ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน) คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20
ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน) คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20
ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน) คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20
ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง พิจารณาจากรายละเอียดของงานที่ปฏิบัติจริง และผลสำเร็จตามเป้าหมาย ที่วัดได้จริง (ระดับ 1 ระดับ 2 หรือระดับ 3) ผลคะแนนรวมมาจากผลคะแนน 15 +15 + 15 + 15 + 15 (แนวนอน) คะแนนรวมผลการประเมินความสำเร็จ ของงานที่ปฏิบัติได้จริงด้านปริมาณผลงาน คุณภาพของผลงาน ความทันเวลา การประหยัดหรือความคุ้มค่าของการใช้ทรัพยากรและผลสัมฤทธิ์ของงาน (แนวตั้ง) ผลการประเมินความสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงโดยวัดจากผลงาน 5 ด้าน (คะแนนรวม 70 คะแนน) 16 15 14 คะแนนรวมเฉลี่ย คำนวณได้จากคะแนนรวมผลการประเมินผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงหารด้วยจำนวนตัวชี้วัด คะแนนรวมเฉลี่ย = คะแนนรวม จำนวนตัวชี้วัด ผู้ประเมินลงลายมือชื่อรับรองการประเมินผลสำเร็จของงานจริงของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินผลสำเร็จของงานจริง จากผู้ประเมิน 17 18 19 ความเห็นของผู้ประเมิน (ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น) ด้านผลงาน ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุจุดเด่นของผลงาน และ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไขของผู้รับการประเมิน ด้านวิธีการส่งเสริม/พัฒนา ผู้ประเมินให้ความเห็นโดยระบุวิธีในการส่งเสริม หรือการพัฒนาผู้รับการประเมิน 21 20
ตัวอย่างการกรอก แบบ ชป.390/1 ตำแหน่งนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ผลสำเร็จของงานที่คาดหวังผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง 1. โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) ระดับความสำเร็จของการจัดโครง- การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ แผนงานรองรับตามคำรับรองของ สพบ. 2 2. การจัดทำแผนปฏิบัติงานการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการกรมชลประทาน 2 ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เข้าใจข้อตกลงของงานตามเป้าหมายของงานข้างต้นและเห็นพ้องต้องกัน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (13)ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) วันที่........เดือน....................พ.ศ............. (12)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) วันที่........เดือน....................พ.ศ.............
ผลสำเร็จของงานที่คาดหวังผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง 3. การติดตามผลการปฏิบัติงาน จำนวนรายงานผลการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ภารกิจของหน่วยงาน (ด้าน...............) 2 4. การประเมินผลโครงการฝึกอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติงาน จำนวนรายงานการประเมินผลโครงการ ภารกิจของหน่วยงานตามแผนปฏิบัติงาน 2 ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เข้าใจข้อตกลงของงานตามเป้าหมายของงานข้างต้นและเห็นพ้องต้องกัน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (13)ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .............................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. (12)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .................................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. นางสาวเก่ง ขยัน นายพิชิต อยู่นาน นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 ว นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 8 ว
ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง 1. ได้ดำเนินการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ผลการดำเนินการฝึกอบรมได้รวบรวมข้อมูลที่ได้ร่วมกันจัดทำร่างแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Scorecard) 15 20 10 9 15 69 2 2. แผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรประจำปีงบประมาณ 2550 15 20 10 9 15 69 2
ผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริงผลสำเร็จของงานที่ปฏิบัติได้จริง 3.รายงานการติดตามผลการดำเนินการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะ 15 20 10 6 11 62 2 4. รายงานการประเมินผลโครงการ 15 10 10 5 8 48 2 60 70 40 29 49 248 10 7.50 15 17.5 12.25 62
(19)ความเห็นของผู้ประเมิน ด้านผลงาน (ระบบจุดเด่นและ/หรือสิ่งที่ควรแก้ไข) ด้านวิธีการส่งเสริม / พัฒนา ...มีความมุ่งมั่น ตั้งใจปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย มีความวิริยะ อุตสาหะ .....เสียสละในการทำงาน ตลอดจนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ได้เป็นอย่างดี...................................................................................................................................................................................................................................................................... .....เห็นสมควรส่งเสริมให้ได้เข้ารับการฝึกอบรมในระดับบริหารระดับกลาง ......และการวิเคราะห์การประเมินผลโครงการ เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ....ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น...................................................................... ....................................................................................................................... (21)ข้าพเจ้ารับทราบผลการประเมินผลงานตามข้อตกลงข้างต้น (20)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง ................................................... วันที่........เดือน....................พ.ศ............. ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง ................................................... วันที่........เดือน....................พ.ศ............. นายพิชิต อยู่นาน นางสาวเก่ง ขยัน นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 8 ว นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7 ว หมายเหตุ(10) เป้าหมายแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ 3 หมายถึง ผลสำเร็จของงานเกินกว่าเป้าหมายระดับ 2 หมายถึง ผลสำเร็จของงานบรรลุเป้าหมาย ระดับ 1 หมายถึง ผลสำเร็จของงานต่ำกว่าเป้าหมาย การประเมินผลสำเร็จของงานจริงคิดเป็นคะแนนรวม ดังนี้ ดีเด่น (ร้อยละ 100) คิดเป็นคะแนน 70 คะแนนดีมาก (ร้อยละ 90 ขึ้นไป) ” 63-69 คะแนน ดี (ร้อยละ 70-89) ” 49-62 คะแนน พอใช้ (ร้อยละ 60-69) ” 42-48 คะแนน ต้องปรับปรุง (น้อยกว่าร้อยละ 60) ” น้อยกว่า 42 คะแนน
ตัวอย่างการกรอก แบบ ชป.390/1 ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี
ผลสำเร็จของงานที่คาดหวังผลสำเร็จของงานที่คาดหวัง 1. ลดระยะเวลาการให้บริการ กระบวนการเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษจาก 8 วันทำการเป็น 4 วันทำการ ร้อยละของการลดระยะเวลาการให้บริการ (ร้อยละ 30-50) จาก 8 วันทำการเป็น 4 วันทำการ คำรับรองของผลการปฏิบัติราชการมิติที่ 3 ด้านประสิทธิ- ภาพของการปฏิบัติราชการ 2(4 วันทำการ) 2. ตรวจสอบใบสำคัญ ขอเบิกเงินค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจัดทำ PO และ ขบ.01 คำรับรองของผลการปฏิบัติราชการมิติที่ 3 ด้านประสิทธิ- ภาพของการปฏิบัติราชการ ระยะเวลา 1 วัน 2(1 วันทำการ) ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินได้เข้าใจข้อตกลงของงานตามเป้าหมายของงานข้างต้นและเห็นพ้องต้องกัน จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญ (13)ลงชื่อ........................................ผู้รับการประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .............................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. (12)ลงชื่อ........................................ผู้ประเมิน (...............................................) ตำแหน่ง .................................................. วันที่........เดือน....................พ.ศ............. น.ส.เก่ง มานะดี นางทองดี แม่นยำ เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 7 เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 8 31 มีนาคม 2551 31 มีนาคม 2551