280 likes | 466 Views
การ ประชุมชี้แจง (ร่าง )กรอบการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557. วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุม ฝ.101 ชั้น 1 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ ถนนพิชัย กรุงเทพมหานคร. ระเบียบวาระการประชุม. ระเบียบวาระการประชุม.
E N D
การประชุมชี้แจง (ร่าง)กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 วันพฤหัสบดีที่ 10 เมษายน 2557 เวลา09.00 น. • ณ ห้องประชุม ฝ.101 ชั้น 1 สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ • ถนนพิชัย กรุงเทพมหานคร
ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวาระการประชุม ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุม ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ 3.1 ร่างกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (6 ตัวชี้วัด) 3.2 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับ สำนัก/กองหรือเทียบเท่า/กลุ่มสถาบัน 3.3 ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และสำนัก/กอง/สำนักงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา ร่างกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายในกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (13 ตัวชี้วัด) ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระการประชุม • สรุปตัวชี้วัดภารกิจหลักของกรมฯ ตามการเจรจาตัวชี้วัด วันที่ 26 มีนาคม 2557
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ (ต่อ) ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ (ต่อ) ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ (ต่อ) ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ (ต่อ) ระเบียบวาระการประชุม อยู่ระหว่างการรอผลการพิจารณา
ระเบียบวาระที่ 2 ระเบียบวาระการประชุม • รับรองรายงานการประชุมคณะทำงานจัดทำคำรับรองและการรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2557
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระการประชุม 3.1 (ร่าง)กรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (6 ตัวชี้วัด)
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ (ต่อ) ระเบียบวาระการประชุม ร่างกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (6 ตัวชี้วัด)
ระเบียบวาระที่ 3.2 การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับ สำนัก/กอง หรือเทียบเท่า/กลุ่มสถาบัน ระเบียบวาระการประชุม **download เอกสารได้ที่ http://webhost.cpd.go.th/develop2/
ระเบียบวาระที่ 3.3 ระเบียบวาระการประชุม ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และสำนัก/กอง/สำนักงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ระเบียบวาระที่ 3.3 (ต่อ) ระเบียบวาระการประชุม ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลการปฏิบัติราชการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ และสำนัก/กอง/สำนักงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557
ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระการประชุม ร่างกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานภายในกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (13 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงานภายในกรมส่งเสริมสหกรณ์ (5 ตัวชี้วัด) • น้ำหนัก ร้อยละ 45 1.2 ร้อยละของเกษตรกรที่เป็น Smart Famer (Output Joint KPI : Zoning) (สสส.) **น้ำหนัก ร้อยละ 5 อยู่ระหว่างการเจรจาตัวชี้วัดระดับกระทรวง ตัวชี้วัดที่ 1.3, 1.4, 1.5 อยู่ระหว่างการเจรจาตัวชี้วัดกับ ส.ก.พ.ร. 1.3 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (2 ตัวชี้วัดย่อย) (สสส.) **น้ำหนัก ร้อยละ 10 1.4 ร้อยละของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการพัฒนามีอัตราการเพิ่มของปริมาณธุรกิจ(2 ตัวชี้วัดย่อย) (สพส.) **น้ำหนัก ร้อยละ 10 หมายเหตุ หน่วยงานใดที่ไม่มีการกำหนดตัวชี้วัดที่ 1.2, 1.3, 1.4, 1.5 ให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ตัวชี้วัดที่ 1.6 1.5 ระดับความสำเร็จในการกำกับดูแลสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องของกรมส่งเสริมสหกรณ์ **น้ำหนัก ร้อยละ 5 1.6 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงาน **น้ำหนัก ร้อยละ 15
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ(ตามภารกิจหลักของหน่วยงาน) • น้ำหนัก ร้อยละ 5 • ผู้รับบริการ หมายถึงเจ้าหน้าที่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่รับบริการจากหน่วยงาน ดำเนินการสำรวจผ่านระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมสหกรณ์
ตัวชี้วัดที่ 3 :ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ • น้ำหนัก ร้อยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 3.1ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม น้ำหนักร้อยละ 3 ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายงานลงทุน น้ำหนักร้อยละ 2 หมายเหตุ หน่วยงานใดที่ไม่มีการกำหนดตัวชี้วัดที่ 3.2 ให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ ตัวชี้วัดที่ 3.1
ตัวชี้วัดที่ 4 : การประหยัดพลังงานของส่วนราชการ • น้ำหนัก ร้อยละ 5 รับผลร่วมกันทุกสำนัก/กอง
ตัวชี้วัดที่ 5 : การพัฒนาประสิทธิภาพระบบสารสนเทศ ภาครัฐ • น้ำหนัก ร้อยละ 5 อยู่ระหว่างการดำเนินการของสำนักงาน ก.พ.ร. • ตัวชี้วัดที่ 6 :การพัฒนาสมรรถนะองค์การ (ทุนมนุษย์ สารสนเทศ และวัฒนธรรมองค์การ) • ** รับผลร่วมกันทุกสำนัก/กอง • น้ำหนัก ร้อยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 6.1ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ
ตัวชี้วัดที่ 6.2:ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การ • น้ำหนัก ร้อยละ 4
ตัวชี้วัดที่ 6.2:ระดับความสำเร็จการพัฒนาสมรรถนะ องค์การ (ต่อ) • น้ำหนัก ร้อยละ 4 คะแนนตัวชี้วัดที่ 6.2 = X + (0.2 x Y) โดยที่ X = ค่าคะแนนตามระดับการดำเนินการในการจัดส่งแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ และค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 Y = จำนวนข้อคำถามในแผนพัฒนาสมรรถนะองค์การ ที่มีส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาองค์การ ครั้งที่ 2 น้อยกว่าหรือเท่ากับครั้งที่ 1 โดยมีน้ำหนัก ข้อละ 0.2
ตัวชี้วัดที่ 7 : การสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ (กระบวนการรับจดทะเบียนสหกรณ์) (สนม.) 3 ตัวชี้วัดย่อย • น้ำหนัก ร้อยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 7.1 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ น้ำหนักร้อยละ 1.5 ตัวชี้วัดที่ 7.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามแผนการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ น้ำหนักร้อยละ 1.5 ตัวชี้วัดที่ 7.3 ผลการสำรวจความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ (สำรวจโดยสำนักงาน ก.พ.ร.) น้ำหนักร้อยละ 2 หมายเหตุ หน่วยงานใดที่ไม่มีการกำหนดตัวชี้วัดที่ 7 ให้นำน้ำหนักไปรวมไว้ที่ ตัวชี้วัดที่ 1.6
ตัวชี้วัดที่ 8 :ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ (ระดับหน่วยงาน) • น้ำหนัก ร้อยละ 2.5
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการขับเคลื่อนค่านิยมกรมส่งเสริมสหกรณ์ • น้ำหนัก ร้อยละ 5
ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน • น้ำหนัก ร้อยละ 5 ตัวชี้วัดที่ 11 :ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดความโปร่งใสเฉพาะหน่วยงานภาครัฐ • น้ำหนัก ร้อยละ 5 รับผลร่วมกันทุกสำนัก/กอง
ตัวชี้วัดที่ 12:ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ • น้ำหนัก ร้อยละ 5
ตัวชี้วัดที่ 13 :ระดับความสำเร็จในการดำเนินการตามแผนบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan : BCP • น้ำหนัก ร้อยละ 2.5
ขอบคุณ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมส่งเสริมสหกรณ์