1 / 57

โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2551

โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2551. หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award). ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA. การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. เป้าหมาย.

nakia
Download Presentation

โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2551

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2551 หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)

  2. ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร

  3. PMQA Model P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  4. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ความเชื่อมโยงของระบบจัดการกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (แผนบริหารราชการแผ่นดิน) คำรับรองการปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล Capacity Building การบริหารความเสี่ยง การปรับกระบวนทัศน์ (I am Ready) พัฒนาองค์กร Individual Scorecard คุณภาพ แผนแม่บททรัพยากร บุคคล 3-5 ปี Vision Mission Strategic เป้าประสงค์ การวิเคราะห์(Competency) ระบบควบคุมภายใน การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงาน Blueprint for Change Redesign Process Knowledge Management MIS e-government

  5. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ vs. พรฎ. vs. ISO ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) ม.10-12,21-23 ,27-38,46-49 [ISO 6.2, 6.4,7.2] การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (พรฎ. หมวด 2, 3) ม.8-9,13-20,22,33-34 [ISO 5.4] การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) ม. 8-9,20-29,33-34,37-38,43-45 [ISO 5.1, 5.3, 5.5, 5.6, 8.5] ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) ม.7,9,21-23,45 [ISO 8.2, 8.4] การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) ม.8,27-38,42 [ISO 5.2, 7.2] การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) ม. 8,10,20-26,30-38 [ISO 7.2, 7.3, 7.4, 7.5] การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) ม.8,9,11,16-18,20,27-29,37-41,43-45 [ISO 8.4]

  6. วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การดำเนินงาน ขององค์กร ในปัจจุบัน ดำเนินการ ตามแผน เปรียบเทียบกับ แนวทางและเกณฑ์ คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ วางแผนการพัฒนา และปรับปรุงองค์กร ทราบว่าองค์กรมี โอกาสในการปรับปรุง การดำเนินงานในด้านใดบ้าง

  7. ประโยชน์ต่อส่วนราชการประโยชน์ต่อส่วนราชการ ได้รับรายงานป้อนกลับ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ Yes การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) สมัครเข้ารับรางวัล PMQA No ส่วนราชการทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) 1 2 ดำเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง 3 4 บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ ในการพัฒนาระบบราชการ (Management Tools and Projects)

  8. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จจังหวัดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จจังหวัด มิติที่ 4 ตัวชี้วัดที่ 11

  9. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 : ปี 2551

  10. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4

  11. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4

  12. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4

  13. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด, IT, KM, Individual Scorecard ไว้ด้วย

  14. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด, IT, KM, Individual Scorecard ไว้ด้วย

  15. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4

  16. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4 หมายเหตุ : ประเมินตามแนวทาง PMQA โดยที่ปรึกษาด้าน PMQA ของสำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด และ เป็นการประเมินที่รวม ตัวชี้วัด Risk Management, IT, KM, HR & Individual Scorecard ไว้ด้วย

  17. แนวทางการให้คะแนน มิติที่ 4

  18. จังหวัด สำนักงานจังหวัด หน่วยงานประเมิน ที่ทำการปกครอง จังหวัด สนง.พัฒนาชุมชน จังหวัด สำนักงานเกษตร จังหวัด สนง.สาธารณสุข จังหวัด สนง.พัฒนาชุมชน อำเภอ สนง.เกษตร อำเภอ สนง.สาธารณสุข อำเภอ ที่ทำการปกครอง อำเภอ ที่ทำการปกครอง กิ่งอำเภอ สนง.พัฒนาชุมชน กิ่งอำเภอ สนง.เกษตร กิ่งอำเภอ สถานีอนามัย สำนักงานประมง จังหวัด สำนักงานปศุสัตว์ จังหวัด สำนักงานที่ดิน จังหวัด สนง.ปศุสัตว์ อำเภอ สนง.ประมง อำเภอ สนง.ที่ดินจังหวัด สาขาส่วนแยก สนง.ที่ดินจังหวัด สาขา สำนักงานที่ดิน อำเภอ

  19. การเชื่อมโยงข้อมูลการประเมินการเชื่อมโยงข้อมูลการประเมิน ส่วนราชการประจำจังหวัด 1 2 3 4 • ตอบคำถาม • ลักษณะสำคัญขององค์กร • เกณฑ์ PMQA : 7 หมวด 6 5 7 จังหวัด 8 PMQA จังหวัด ข้อมูลสารสนเทศ อำเภอ ส่วนราชการประจำอำเภอ 1 2 3 4 5 6 7 8

  20. 1 2 8 3 7 6 4 5 ลำดับขั้นตอนการประเมิน ส่วนราชการประจำจังหวัด 1 2 3 4 มิติที่ 4 จังหวัด 5 6 7 8

  21. แนวทางประเมินผล คำถามหลัก ประเด็นที่พิจารณา หัวข้อ How ADLI คะแนน (1) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ 1.1 ก คะแนน (2) 1.1 คะแนน (3) ข คะแนน (4) คะแนน (5) What 3R ค คะแนน (6) คะแนน (7) คะแนน (8) บรรยายสรุป ผลประเมิน หัวข้อ 1.2 ก คะแนน (9) คะแนน (10) 1.2 ข คะแนน (11) ค คะแนน (12)

  22. กราฟแสดงผลคะแนนระดับ หัวข้อ 17 หัวข้อ คะแนน หัวข้อ

  23. กราฟแสดงผลคะแนนค่าเฉลี่ยระดับ หมวด 7 หมวด คะแนน หมวด

  24. ลำดับความสำคัญโอกาสในการปรับปรุง

  25. แผนการปรับปรุง

  26. รายงานหลักฐานสำคัญ

  27. รายงานหลักฐานสำคัญ เฉพาะที่เคยดำเนินการ

  28. รายงานหลักฐานสำคัญ

  29. รายงานหลักฐานสำคัญ เฉพาะที่เคยดำเนินการ

  30. สาระสำคัญ PMQA ปี 2551 • การประเมินผลการดำเนินงาน ด้วยข้อมูลของ ปีงบประมาณ 2551 • (1 ตค. 2550 – 30 กันยายน 2551) • การบูรณาการ ตัวชี้วัด มิติที่ 4 • RM, KM, IT, HR & Individual Scorecard, PMQA • (ให้น้ำหนักความสำคัญคะแนน กับ ตัวชี้วัดเดิม) • การวัด ระดับคะแนน ของ การดำเนินงานองค์กร • (เพื่อรู้สถานะและมุ่งสู่การปรับปรุงองค์กร ยังไม่ใช่รางวัล) • การปรับ ภาษาเกณฑ์ ให้เหมาะสมและเข้าใจง่ายขึ้น • การสร้าง ความเข้าใจ PMQAของผู้บริหาร • ( 3 ระดับชั้นบังคับบัญชา ) • การติดตามประเมินหลักฐานโดย ผู้ตรวจประเมินภายนอก1 ครั้ง • ( ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2551)

  31. การจัดการเชิงกลยุทธ์ PMQA วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ • ปัจจัยภายนอก • เศรษฐกิจ สังคม การเมือง • ธรรมชาติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปัจจัยภายใน HR Scorecard Risk Management Individual Scorecard 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5 การมุ่งเน้น บุคลากร มิติที่ 1 ประสิทธิผล มิติที่ 2 คุณภาพ 1 การนำ องค์กร 7 ผลลัพธ์ องค์กร มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ 3 การมุ่งเน้น ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้เสีย มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร 6 การจัดการ กระบวนการ IT & KM 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ PMQA

  32. ขั้นตอนการดำเนินการ PMQA ปี 2551

  33. แนวทางการประเมินหมวด 1-6ประเภทคำถาม WHAT

  34. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท WHAT

  35. แนวทางการประเมินหมวด 1-6คำถามประเภท HOW

  36. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท HOW

  37. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภทที่ทั้ง WHAT+HOW

  38. แนวทางการให้คะแนน หมวด 7

  39. แนวทางการให้คะแนน หมวด 7คำถามประเภท RESULT

  40. การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6) • HOW • 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง • (ระบบบริหารความเสี่ยง) • ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ • ที่ไม่แน่นอนและจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงิน • และไม่เป็นตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุ • เป้าหมายตามภารกิจหลักที่กำหนดในกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ • และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 • ของส่วนราชการ • *** ดำเนินการต่อเนื่องจากตัวชี้วัด • “ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง” • เอกสารหลักฐานที่สำคัญ: อย่างน้อยต้องมีเอกสารหลักฐานที่สำคัญ ดังนี้ • คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ • แผนบริหารความเสี่ยง • การประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจให้ทุกหน่วยงานในสังกัดรับทราบ • แผนบริหารความเสี่ยงเพื่อนำไปปฏิบัติ • การสรุปผลการดำเนินงาน • การประเมินผลลัพธ์ของแผนบริหารความเสี่ยง

  41. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6)

  42. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6)

  43. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6)

  44. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (6)

  45. การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8) • HOW • 8.2 การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ • (การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง) • ความสำเร็จที่ส่วนราชการจัดให้มีระบบการประเมินผลของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง เพื่อประโยชน์ • ในการนำยุทธศาสตร์กรมไปสู่การปฏิบัติ • ส่วนราชการมีกระบวนการกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายในระดับสำนัก/กอง • ซึ่งเป็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ถ่ายทอดมาจากระดับกรม มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • ระหว่างหัวหน้าหน่วยงานระดับสำนัก/กองกับหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม รวมถึงมีการติดตามและ • ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง ในปีงบประมาณ • พ.ศ. 2551 เพื่อให้ผลการดำเนินงานของหน่วยงานระดับสำนัก/กองสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายระดับกรม • *** ดำเนินการต่อเนื่องจากตัวชี้วัด “ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย • ระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง” • เอกสารหลักฐานที่สำคัญ: อย่างน้อยต้องมีเอกสารหลักฐานที่สำคัญ ดังนี้ • กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานระดับสำนัก/กอง • แผนการจัดระบบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับกรมสู่ระดับสำนัก/กอง(Gantt Chart) • แผนที่ยุทธศาสตร์ของกรมต้นสังกัด • คำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมต้นสังกัดและสำนัก/กอง • ชี้แจงรายละเอียดในคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างกรมต้นสังกัดและสำนัก/กอง • เพื่อสร้างความเข้าใจและนำไปปฏิบัติ • รายงานสรุปผลความสำเร็จของการปฏิบัติราชการ • ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการระดับสำนัก/กอง (เมื่อสิ้นปีงบประมาณ)

  46. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8)

  47. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8)

  48. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8)

  49. 0 0 0 1 1 1 2 2 2 3 3 3 4 4 4 5 5 5 การประเมินตามคำถามหมวด 2 ข้อ 2.2 ก (8)

  50. การประเมินตามคำถามหมวด 4 ข้อ 4.2 ข(9) คำอธิบายเพิ่มเติม พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มาตรา 11 ได้กำหนดให้ส่วนราชการได้พัฒนาไปสู่ “องค์การแห่งการเรียนรู้”* การจัดการความรู้จึงเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาองค์การไปสู่การเรียนรู้ ซึ่งส่วนราชการ จำเป็นต้องมีความรู้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับพันธกิจ และ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ในขณะเดียวกันการบริหารความรู้ ที่มีประสิทธิภาพจะช่วยส่งเสริมให้ทรัพยากรบุคคลเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (หมวด 5) อีกทั้งองค์ความรู้จะเป็น ข้อมูลสำคัญในการตัดสินใจทางการบริหาร (หมวด 4) โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเป็นข้อมูลสำคัญในการบริหารความเสี่ยง (หมวด 2)ทั้งในขั้นตอนการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง และ การวางกลยุทธ์บริหารความเสี่ยง ซึ่งเมื่อส่วนราชการมีแผนการบริหารความเสี่ยงและการบริหารเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพแล้ว จะทำให้เกิดการพัฒนากระบวน การทำงาน (หมวด 6) ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างดี *มาตรา 11 ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการเพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องเรียนรู้ ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆเพื่อนำมาประยุกต์ใช้งานกับการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและ เหมาะสมต่อสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยน ทัศนะคติของราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน

More Related