350 likes | 649 Views
กพร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. คำรับรองฯ ปี 2554 มิติที่ 4 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA ). P ublic Sector M anagement Q uality A ward. 1 4-15 ก.พ. 2554. สิริมณี ชุมเรียง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
E N D
กพร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช คำรับรองฯ ปี 2554 มิติที่ 4การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) Public Sector Management QualityAward 14-15 ก.พ. 2554 สิริมณี ชุมเรียง นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 02-579-6666 ต่อ 1256, 1178, 1179 FAX 02-579-9701 E - mail : dnp.psdg @ dnp.go.th
ความเชื่อมโยงของการพัฒนาระบบราชการ กับ เกณฑ์คุณภาพ PMQA การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เป้าหมาย วิธีการ ผล พรฎ. การจัดการบ้านเมืองที่ดี ตัวผลักดันให้เกิดผลลัพธ์ ผลลัพธ์ 1.เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน 2.เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3.ประสิทธิภาพและคุ้มค่า 4.ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.ปรับปรุงภารกิจของ ส่วนราชการ 6.อำนวยความสะดวก ให้กับประชาชน 7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากร บุคคล ประสิทธิผล การนำ องค์กร คุณภาพ การจัดการ กระบวนการ ประสิทธิภาพ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พัฒนาองค์กร องค์กรพัฒนา Introduction to PMQA
พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็น ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ Introduction to PMQA
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 4
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Introduction to PMQA
เหตุผลที่นำ PMQA มาใช้ • เกณฑ์ PMQAมุ่งเน้นแนวทางการบริหารจัดการในทิศทางที่เป็นเลิศเช่นเดียวกับหน่วยงานภาครัฐในประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งหลาย • คำนึงถึงสังคมและประโยชน์ของประชาชน • ให้อิสรภาพแก่องค์กรในการเลือกใช้วิธีการต่างๆที่นำไปสู่ความเป็นเลิศโดยไม่จำเป็นต้องเหมือนกับของคนอื่น • พิสูจน์ความสำเร็จโดยดูจากผลลัพธ์และข้อมูล • สนับสนุนการเรียนรู้และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง Introduction to PMQA
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level) ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 100 90 80 70 60 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 50 40 30 20 10 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์ 7
จำนวนส่วนราชการที่ดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จำแนกรายหมวด 9
ระดับกรม ค่าคะแนนเฉลี่ยตัวชี้วัด PMQA ปี 2552 จำนวนหน่วยงาน 2.1173 4.9729 ค่าเฉลี่ย 4.1795 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.6381 กรม อส. ปี 52 =3.2772 ปี 53 =4.715 10
1 หมวด 1 ระดับกรม สถานะการบริหารจัดการองค์การ จำแนกรายหมวด 10 9.35 9 9.06 8.99 8 8.38 8.21 7.75 7 6 5 5.14 4 3 84 กรม 54 กรม 99 กรม 2 8 กรม 27 กรม 2 กรม 137 กรม หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 2 หมวด 7 หมวด 1 การนำองค์การ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 11
ระดับกรม หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (84 กรม) 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการฯ 3.2 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการฯ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (2 กรม) 5.1การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากรฯ 5.2 การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ หมวด 1 การนำองค์การ (99 กรม) 1.1 การนำองค์การ 1.2 ธรรมภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (8 กรม) 4.1การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลฯ 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (54 กรม) 2.1 การวางยุทธศาสตร์ 2.2 การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์ เพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (27 กรม) 6.1 การออกแบบกระบวนการ 6.2 การจัดการและการปรับปรุงกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (137 กรม) 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.2 มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 7.4 มิติด้านการพัฒนาองค์การ 12
ส่วนใหญ่ขาด (D) การจัดอันดับอันดับความสำคัญของการดำเนินปรับปรุง และ (L/I) การทบทวนและปรับปรุงแนวทางกำหนดตัวชี้วัดและแผนการประเมินให้ดีขึ้น LD 1 การกำหนดทิศทางองค์การ LD 5 นโยบายการกำกับองค์กรที่ดี LD 2 การมอบอำนาจ LD 6 การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน LD 3 กิจกรรมการเรียนรู้ LD 7 มาตรการจัดการผลกระทบทางลบ LD 4 การกำหนดตัวชี้วัดที่สำคัญ 13
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2554 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากเกณฑ์ฯ ปี 2553 • ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานทั้ง 7 หมวด เนื่องจากส่วนราชการจะต้องได้รับการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL ) เพื่อเป็นพื้นฐานของการพัฒนาระบบบริหารจัดการในระดับก้าวหน้าที่จะต้องดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ต่อไป ดังนั้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จึงไม่ได้กำหนดค่าน้ำหนักคะแนนตัวชี้วัดในส่วนที่เกี่ยวกับการดำเนินการปรับปรุงองค์การในส่วนที่ไม่ผ่านการประเมินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (แผนซ่อม) • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวด 7เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้ง 6 หมวด ซึ่งส่วนราชการจะเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาหมวดละ 1 ตัวชี้วัดเพื่อสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการ และเป็นจุดเน้นที่สำคัญที่ส่วนราชการต้องการผลักดันการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ประกอบกับตัวชี้วัดที่เลือกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 นี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 14
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2554 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากเกณฑ์ฯ ปี 2553 • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการที่ส่วนราชการได้คัดเลือกมาในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (แบบฟอร์ม 4.2) และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 นั้น สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ให้คะแนนความครบถ้วนตามตัวชี้วัดย่อย 15.3.3 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แล้ว สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ขอยกเลิกการให้คะแนนผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าว เนื่องจากได้มากำหนดเป็นตัวชี้วัดในหมวด 7 ซึ่งสะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการที่ครอบคลุมทุกหมวดแล้ว • ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีแม้ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Progressive Level 15
ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 ปี 2554 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • รายหมวด (2 หมวดที่เหลือ และหมวด 7 เลือกตัวชี้วัดแนะนำหมวดละ 1 ตัว) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การ • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 53 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจและหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 • สิ่งที่ต้องส่งรายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน • ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน ตามโปรแกรม Self Certify FL มอบ วันที่ 31 ต.ค. 2554 • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ฯ • ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 54 • (หมวดภาคบังคับ,หมวดสมัครใจ) 16
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของ PMQA (มิติที่ 4) ระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตัวชี้วัดที่ 12 น้ำหนัก ร้อยละ 20 17
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของ PMQA (มิติที่ 4) ระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตัวชี้วัดที่ 12 น้ำหนัก ร้อยละ 20 18
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของ PMQA (มิติที่ 4) ระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตัวชี้วัดที่ 12 น้ำหนัก ร้อยละ 20 19
หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ • (13)1 การวางแผนยุทธศาสตร์ • 1.1 แผนระยะยาว (4 ปี) • 1.2 แผนระยะสั้น (1 ปี) • ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง • กรอบเวลาและเหตุผล • กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา • (14)2 การนำปัจจัยมาประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ • 2.1 ปัจจัยภายใน • 2.2 ปัจจัยภายนอก • ปัจจัยต่างๆ • การรวบรวม • การวิเคราะห์ • (15)3 what • 3.1 ประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ กลยุทธ์ • 3.2เป้าหมายและระยะเวลา • 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ • (16)4 การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ • ดูความท้าทาย • ดูความสมดุลของโอกาสระยะสั้นระยะยาว • ดูความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ • 5.1 วิธีการถ่ายทอด • 5.2 การจัดสรรทรัพยากร • 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน • (18)6 แผนปฏิบัติการ • 6.1 what • แผนปฏิบัติการที่สำคัญ • 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) • จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (19)7what • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • 7.14ปี • 7.21ปี • (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ • 8.1 what • ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ • 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ • เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Score How 5 What 4 20
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก.ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ ข. การจัดการความรู้ ก.การวัดผลการดำเนินการ ข.การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ • (41)9 การจัดการความรู้ • (KM) • รวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กร • รวบรวมถ่ายทอดจากคนอื่น • แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • (42)10 การจัดการให้ข้อมูลสารสนเทศ ความรู้ ให้มีคุณสมบัติที่ดี รวมทั้งสิ้น11ประการ • ความครอบคลุม • .ความรวดเร็ว • ความถูกต้อง • ความทันสมัย • ความเชื่อมโยง • ความน่าเชื่อถือ • ความสามารถในการเข้าถึง • ความสามารถในการตรวจสอบ • การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล • ความปลอดภัย • การรักษาความลับ • (33)1 การเลือกและใช้ข้อมูล • 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ • ที่สอดคล้องเชื่อมโยง • เพื่อติดตามผลดำเนินงานองค์กร • 1.2การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ • สนับสนุนการตัดสินใจ • สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม • (34)2 การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเชิงเปรียบเทียบเพื่อ • สนับสนุนการตัดสินใจ • สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม • (35)3 การปรับปรุงระบบการวัดผล • 3.1 การทบทวนปรับปรุงระบบการวัดผล • ให้เหมาะสม • ทันสมัย • 3.2 การจัดระบบการวัดผลให้ไวต่อการบ่งชี้ • จากการเปลี่ยนแปลงภายใน • จากการเปลี่ยนแปลงภายนอก • (38)6 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ • (IT) • ให้พร้อมใช้งาน • ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • (39)7 การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ • ให้เชื่อถือได้ • ปลอดภัย • ใช้งานง่าย • (40)8 การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ • ให้เหมาะสม • ทันสมัย KM • (36)4 what • ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร • ทบทวนผลดำเนินงาน • วางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • (37)5 การสื่อสารผลวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ • เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ IT IT How 9 What 1 21
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.2 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม หมวด 1 12.2.1 ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของผลสัมฤทธิ์ของมาตรการ/โครงการตามนโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี : OG (อย่างน้อยด้านละ 1 มาตรการ ได้แก่ 1. ด้านรัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม(มุมสร้างสรรค์) 2. ด้านผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3. ด้านองค์การ 4. ด้านผู้ปฏิบัติงาน 1 คะแนน • หมวด 1 12.2 (1) ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใจทิศทางขององค์การ 3 คะแนน
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.2 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม หมวด 2 12.2.2 ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของสำนัก/กอง ที่ปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดที่องค์การกำหนด 1 คะแนน • หมวด 2 12.2(2) ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง 3 คะแนน
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.2 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม หมวด 3 12.2.3 ร้อยละของความสำเร็จ ในการดำเนินการตามมาตรฐานคู่มือการให้บริการ 1 คะแนน • หมวด 3 12.2(3) ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ 3 คะแนน
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.2 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม หมวด 4 12.2.4 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้เข้าถึง หรือเข้ามาใช้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซต์ของกรม 1 คะแนน • หมวด 4 12.2 (4) ร้อยละความสำเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ จำนวน 1 องค์ความรู้ 2 คะแนน
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.2 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม หมวด 5 12.2.5 ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อองค์การ 1 คะแนน • หมวด 5 12.2 (5) ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อองค์การ 2 คะแนน 2 คะแนน
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.2 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม หมวด 6 12.2.6 ร้อยละของกระบวนการสร้างคุณค่าที่มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน(Work Mannual) 1 คะแนน • หมวด 6 12.2 (6) ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน 2 คะแนน
ตัวชี้วัดมิติที่ 4 ตัวที่ 12.3 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปี 2554 สำนัก / ศูนย์ / กอง / กลุ่มรวมถึงสาขา ระดับกรม 12.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน : ระดับคะแนน 1 จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ครบถ้วน 2. ประเมินองค์การด้วยตนเองตามเกณฑ์ฯ FL ครบถ้วนทุกประเด็นทั้ง 7 หมวด 3. ประเมินองค์การด้วยตนเอง เพื่อผ่านการ รับรอง ของโปรแกรม self Certify FL ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่า 80 % 4. ” ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่า 90 % ” ได้ครบถ้วนไม่น้อยกว่า 100 % 6 คะแนน 12.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (เฉพาะประเด็นการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร ครบถ้วน) 5 คะแนน
หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 29
หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 30
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 31
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 32
ก.พ.ร. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แผนที่ยุทธศาสตร์ (strategy map) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช วิสัยทัศน์ : ผืนป่าหลากหลาย สัตว์ป่ามากมาย ป่าไม้ยั่งยืน พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้รับการจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ประสิทธิผล ตามพันธกิจ 4 ฐานข้อมูลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและใช้ประโยชน์ คุณภาพการให้บริการ 2 พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้รับการบริหาร จัดการอย่างมีประสิทธิภาพ การป้องกันและเตือนภัยพิบัติธรรมชาติ ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น มีกลไกและเครื่องมือในการบริหาร พื้นที่ป่าอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 1 6 3 องค์ความรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่าได้รับการพัฒนาและถ่ายทอด การพัฒนาองค์กร 5
ตัวอย่างผังโครงสร้างกระบวนการบริหารความเสี่ยงตัวอย่างผังโครงสร้างกระบวนการบริหารความเสี่ยง ผู้บริหารองค์กร แต่งตั้งคณะกรรมการ พิจารณาให้ความเห็นชอบ / อนุมัติคำสั่ง 1 2 6 10 จัดหาทีมงาน / จัดทำนโยบายและแนวทางบริหารความเสี่ยงองค์กร พิจารณา / เสนอแนะ ตรวจสอบ รายงานสรุปผล / กำหนดแนวทางในอนาคต คณะกรรม การบริหารความเสี่ยง 3 9 5 ทีมงานบริหารความเสี่ยง ระบุ / ประเมิน / กำหนดแนวทางตอบสนองความเสี่ยง และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ติดตาม ตรวจสอบการปฏิบัติงาน / ทำรายงานสรุปผล 7 4 8 ผู้ปฏิบัติงานในองค์กร สนับสนุนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานตามแผนบริหารความเสี่ยง