320 likes | 754 Views
กองสุขาภิบาลชุมชน และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ. ประเด็นยุทธศาสตร์ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ผลการดำเนินงาน ปี 2551 แผนการดำเนินงาน ปี 2552. วันที่ 16 กันยายน 2551 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่. ผลการดำเนินงาน ปี 2551.
E N D
กองสุขาภิบาลชุมชน และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ประเด็นยุทธศาสตร์การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ผลการดำเนินงาน ปี 2551 • แผนการดำเนินงาน ปี 2552 วันที่ 16 กันยายน 2551 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จ.เชียงใหม่
กรมอนามัยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมปรึกษาหารือกับภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพกรมอนามัยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมปรึกษาหารือกับภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงานด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • วัตถุประสงค์ • ร่วมกันพิจารณาแนวทางการดำเนินงาน HIA ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามความเคลื่อนไหวด้าน HIA • หาข้อสรุปในด้านบทบาทของกรมอนามัย • ภาคี • สำนักงานนโยบายและแผนสวล. • สำนักงานสุขภาพแห่งชาติ • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น • กรม คร. • ผู้แทนภาคประชาสังคม • มูลนิธิสุขภาวะ • ผู้เชี่ยวชาญจากม.มหิดล • ผู้แทนกรม สบส. 28 เม.ย. แนวทางการดำเนินงาน HIA 15 พ.ค. การพิจารณาขอบเขตงานตาม รธน. 6-7 มิ.ย. สัมมนาผู้เกี่ยวข้อง ในประเด็นต่างๆ กลางมิ.ย. การดำเนินงาน HIA นอก EIA ปลาย มิ.ย. การดำเนินงาน HIA กับชุมชน/ท้องถิ่น กิจกรรม
ผลผลิตจากการประชุมปรึกษาหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องผลผลิตจากการประชุมปรึกษาหารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. แนวทางการดำเนินงาน HIA ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 รธน. (ร่างกฎหมายจัดตั้งองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ) - ความหมายของคำว่า “ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงด้านสุขภาพ” - รายชื่อกิจการประเภทที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงด้านสุขภาพ 1.2. พรบ.สวล. - แนวทางการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในรายงาน EIA - รายชื่อผู้แทน กสธ.ใน คชก. - แกนหลักในการประสานเรื่อง EIA 1.3. พรบ.สุขภาพ (อยู่ระหว่างการพิจารณา) 1.4. พรบ. สธ. (พัฒนาต้นแบบการใช้ HIA ตามพรบ.สธ.) 2. แนวทางการดำเนินงาน HIA - การส่งเสริมการใช้ HIA ในระดับชุมชนและท้องถิ่น
สรุปภารกิจ HIAด้านกฎหมาย 1.1 นโยบายสาธารณะ • กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการติดตามและประเมินผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ คสช. คกก.ศึกษาแนวทางตามม.10,11,25(5) 1.2PolicyPlan Program 1. ระดับนโยบาย SEA สผ./อกก. ผู้แทนกรมอ. 2. ระดับโครงการ/กิจกรรม/กิจการ 2.1 โครงการ/กิจกรรมที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง (คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ สุขภาพ) คกก.ศึกษาและยกร่างกม.จัดตั้งองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม (สส.) - อนุฯ 1 ร่างกม.องค์การอิสระฯ - อนุฯ 2 การมีส่วนร่วมของปชช. 2.2 โครงการทำEIA - พัฒนาแนวทางการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในรายงาน EIA - เป็นฝ่ายเลขาฯ ของกสธ. ผู้แทนกสธ. - นิยามองค์การเอกชนด้านสุขภาพ คกก.กำหนดประเภทโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (สผ.) -18ประเภทโครงการ ผู้แทนกรมอ. กรมอ.เจ้าภาพ 2.3 กิจการ/กิจกรรมในพรบสธ. - ความหมายของคำว่า “ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงด้านสุขภาพ” - กำหนดกิจการอื่น กรมอ.เจ้าภาพ - หลักเกณฑ์การพิจารณากิจการตามกฎหมาย - การออกข้อบัญญัคิท้องถิ่น - การปรับปรุงแก้ไข กม./การกำหนดเรื่องHIA ในกม.
HIA in EIA คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ (นายปิยะรัตน์ บุตราภรณ์) กรมควบคุมโรค กรมอนามัย โครงการที่พักอาศัย อาคาร อาคารชุด(นายสุคนธ์ เจียสกุล + สว. + สช. ) โครงการอุตสาหกรรม (นพ.กำจัด รามกุล) โครงการสำรวจและ/หรือผลิตปิโตรเลียม (ดร.ทวีสุข พันธุ์เพ็ง) โครงการรัฐ+เอกชนด้านคมนาคม (นพ.พนม พันธ์ศิริ-วัฒนานุกุล) โครงการบริการชุมชน (นายสุคนธ์ เจียสกุล+ศกม+ สว) โครงการเหมืองแร่ (น.ส.ธีชัชบุญญะการกุล) โครงการโครงสร้างพื้นฐาน (ดร.ทวีสุข พันธุ์เพ็ง + สช. ) โครงการพลังงาน (ดร.นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์) โครงการอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมีและเคมี ศ.ดร.นพ.พรชัย สิทธิศรันย์กุล) โครงการของส่วนราชการร่วมกับเอกชน (น.ส.ธีชัช บุญญะการกุล + สช. ) เลขานุการ -กองสุขาภิบาลชุมชนฯ ทำหน้าที่ 1. ประสาน และติดตามการดำเนินงานของคชก. แต่ละคณะ 2.ร่วมจัดทำแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคชก.แต่ละคณะ
การพัฒนากระบวน HIA นำไปสู่นโยบายสาธารณะโดยผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพ...(กสช.) การพัฒนารูปแบบ HIA ของการจัดการขยะมูลฝอยในจังหวัดภูเก็ต โดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ... (กสช.) การศึกษาผลกระทบจากกิจการฟาร์มกล้วยไม้จ.ราชบุรี..(ศอ. 4) การศึกษาผลกระทบจากการโครงการพัฒนาแหล่งน้ำมันประดู่เฒ่าตอนใต้ บางระกำ จ.พิษณุโลก.....(ศอ. 9) งานพัฒนาองค์ความรู้ด้าน การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การพัฒนาเครื่องมือ เอกสาร สื่อความรู้เผยแพร่
การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ • เป็นศูนย์ความรู้ด้าน HIA • ฐานข้อมูล HIA ประเด็น • ต่างๆ ทั้งใน/ต่างประเทศ • ภาคีเครือข่าย/ • ผู้เชี่ยวชาญ/Best practice • ข่าวสารผลกระทบต่อ • สุขภาพ
ตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ HIA ด้านการเรียนรู้ 12 พื้นที่ : ชุมชน/ภาคีเครือข่ายผ่านการอบรม ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ HIA ด้านกระบวนการ 4 พื้นที่ : การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย/มีข้อมูลเชิงประจักษ์ ด้านผลสำเร็จ 2 พื้นที่ : เกิดข้อเสนอแนะ/นโยบายสาธารณะ มาตรการ เชิงประเด็น และพื้นที่/เกิด Best Practice
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดประเด็นยุทธศาสตร์ HIA ร้อยละ (4 แห่ง) (12 แห่ง) (8 แห่ง)
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด HIA ของศูนย์อนามัยที่ 1-12 ศอ.10 ศอ.9 ศอ.6 ศอ.8 ศอ.7 ศอ. 2 ศอ.5 ศอ.4 ศอ.3 ศอ. 1 ศอ.11 ศอ.12
ด้านกระบวนการเป้าหมาย 4 พื้นที่ผลงาน 8 พื้นที่- ศอ. 6,7,8,10,12 - ศอ. 1,2,8,9 ศอ. 6 • แหล่งท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี • การจัดการขยะมูลฝอย เทศบาลตำบลโพนพิสัย จ.หนองคาย • การจัดการสิ่งปฏิกูล อบต.บ้านค้อ อ.เมือง จ.ขอนแก่น • การจัดการน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคอบต.โนนทัน อ.เมือง จ.ขอนแก่น • โรงสีข้าวขนาดใหญ่ อ.เมือง จ.ขอนแก่น • การปลูกยางพารา จ.เลย • การเลี้ยงปลาในกระชังในแม่น้ำชี อบต.เกิ้ง อ.เมือง จ.มหาสารคาม • ศอ 7การทำนาเกลือ จ.สกลนคร • ศอ 8การใช้สารเคมีในการเกษตร เทศบาลตำบลบางปะมุงนครสวรรค์และ การใช้สารเคมีในการเกษตร อบต.หาดทะนง จ.อุทัยธานี • ศอ 10งานวิจัยกรณีศึกษา Long Term Care ในผู้สูงอายุ วัดห้วยเกี๋ยง อ.สันทราย เชียงใหม่ • ศอ 12 การสร้างบ้านนกนางแอ่น จ.ปัตตานี และการจัดการมูลฝอย ในเขตเทศบาล อ.ปะเหลียน จ.ตรัง
ด้านผลสำเร็จเป้าหมาย 2 พื้นที่ผลงาน 4 พื้นที่- ศอ. 1,2,8,9 • ศอ 1 ประเด็นสารเคมีการเกษตร อบต.บ่อเงิน อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี • ศอ 2 ฝุ่นโรงงานโม่หินหน้าพระลาน เทศบาลตำบลหน้าพระลาน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี • ศอ 8 การจัดหาพื้นที่กำจัดขยะในชุมชน อบต.ทะนง จ.พิจิตร • ศอ 9 พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน HIA ท้องถิ่นของประชาชนริมแม่น้ำวังทอง ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ • กฎหมายกำหนด (รธน./พรบ.สวล./พรบ.สุขภาพ) • นโยบายผู้บริหาร • การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและภาคีเครือข่าย • การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วน ทั้งในและต่างประเทศ • การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และWebsite HIA • การเรียนรู้โดยการปฎิบัติจริงในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2552 16
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 17
เป้าประสงค์ 1.ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพ 2. ภาคีเครือข่ายนำ HIA ไปใช้ใน กระบวนการตัดสินใจ ระดับชุมชน/ท้องถิ่น ระดับโครงการและนโยบาย
วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพ 2.ภาคีเครือข่ายนำ HIA ไปใช้ในกระบวนการตัดสินใจ ระดับชุมชน/ท้องถิ่น ระดับโครงการและนโยบาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอนุญาต/อนุมัติ มีความรู้และเข้าใจเรื่อง HIA อปท.นำ HIA ไปใช้เพื่อการคุ้มครองประชาชน เจ้าหน้าที่ สสจ.และ รพ. มีความรู้และทักษะ สามารถให้คำปรึกษาแนะนำเรื่อง HIA ได้ ประสานและสร้างสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย สนับสนุนการใช้เครื่องมือ HIA ตามกฎหมาย การพัฒนาองค์ความรู้ พัฒนาระบบการสื่อสารสาธารณะ การจัดทำแผนแบบมีส่วนร่วมและการถ่ายทอดแผนสู่บุคคล การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ การสร้างบรรยากาศในการทำงาน
กลยุทธ์ในการดำเนินงานกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 1.Build Capacity : การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร 2.Advocacy : การสร้างความตระหนัก 3. Partnership : การพัฒนาความเข้มแข็งและสร้างการมีส่วนร่วม 4.Regulation: ดำเนินการตามบทบัญญัติของกฎหมาย 5.Investment: พัฒนาระบบงานให้ได้มาตรฐาน 20
มาตรการแนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • เทศบาลมีศักยภาพในการนำ HIAไปใช้เพื่อการดำเนินงานในพื้นที่ ทั้งนี้ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน • ร้อยละ 50 ของเทศบาล (600 คน) ได้รับการพัฒนาศักยภาพ • ประชุม/อบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ เรื่องกระบวนการ HIA/บทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด/สิทธิปชช./การประยุกต์ใช้ HIA ในกรณีต่างๆ /การตัดสินใจเชิงนโยบาย/การอนุมัติ/อนุญาต • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ประสานความร่วมมือกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ทำหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ อปท กำหนดเป้าหมายร่วมกัน) 21
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • ประชุม/อบรม เรื่องกระบวนการ HIA/บทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด/สิทธิประชาชน/การประยุกต์ใช้ HIA ในกรณีต่างๆ /การทำ HIA ใน EIA • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด • สสจ. 75 แห่ง มีศักยภาพในการนำ HIA ไปใช้เพื่อการดำเนินงานในพื้นที่ ทั้งนี้ตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน • สร้างความเข้าใจในแนวทางการดำเนินงาน HIA และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (โดยส่วนกลาง/ศอ) • พัฒนารูปแบบการพัฒนาศักยภาพ สสจ 22
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • ประชุมชี้แจง/ชี้แนะ/ให้คำปรึกษา/แนะนำเรื่องการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน EIA หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอนุญาต/อนุมัติมีความรู้และเข้าใจเรื่อง HIA • พัฒนาแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพใน EIA บริษัทที่ปรึกษามีความรู้และเข้าใจในการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ • ประสาน สผ. ในการชี้แจงบริษัทที่ปรึกษา 23
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • การให้ความรู้กับประชาชนด้านสิทธิ/ความรู้ • HIAอย่างง่าย • การพัฒนาองค์ความรู้ • รูปแบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมาย • (อย่างน้อย ศอ.ละ • 1 รูปแบบ) • การใช้ HIAในการส่งเสริมสุขภาพ • - การพัฒนา รพ.ส่งเสริมฯกับผลกระทบของผู้มีส่วน • ได้ส่วนเสีย (ศอ 6) • การใช้ HIA ในการทำ EIA • (Guideline กลาง เขื่อน เหมือง พลังงาน) • HIA ในการกำหนดนโยบาย/แผนงาน /โครงการ • - การพัฒนาการเกษตรไร่มันสำปะหลัง (ศอ 7) • - มูลฝอยติดเชื้อ (ศอ 8) • - การจัดการน้ำสะอาด (ศอ 12) 24
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • การใช้ HIAตาม พรบ สธ • การจัดการมูลฝอยตลาดสดน่าซื้อ/ • เทศบาลน่าอยู่ (ศอ 1) • โรงงานผลิตต้นแบบแม่สี/ฝุ่นหน้า • พระลาน/ต่อเนื่อง (ศอ 2) • โรงไฟฟ้า (ศอ 3) • สิ่งปฎิกูล (ศอ 5) • มูลฝอยติดเชื้อ (ศอ 6, 12) • เหมืองเกลือสินเธาว์/สิ่งปฎิกูล (ศอ 7) รูปแบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เป้าหมาย (ต่อ) 25
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด • ศูนย์อนามัย/ส่วนกลาง • บุคลากร(กสช./ศอ.) ไดัรับการพัฒนาศักยภาพด้าน HIA/เฝ้าระวัง • ศอ.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำในการทำ HIAได้ • บุคลากรในหน่วยงานส่วนกลาง(สายว.)ได้รับการพัฒนาศักยภาพ • (อย่างน้อย 3 หลักสูตร*) • การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม • การอบรมหลักสูตร • - Pre-training course ในการประชุมHIA 2008 จ.เชียงใหม่ • - EHIA • - Risk Assessment* • - การเฝ้าระวัง* • - ระบาดวิทยาสิ่งแวดล้อม* • การศึกษาดูงาน/ศึกษาต่อ 26
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด พื้นที่นำร่อง • การเฝ้าระวังสุขภาพด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม • ระบบเฝ้าระวังในภาพรวม • ระบบเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ • ฟลูออไรด์ในน้ำดื่ม • (ศอ 9, ส.อาหาร) • มลพิษอากาศ • (ศอ 2, 4, 10) • มาบตาพุด (ศอ 3) 27
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ส่วนกลาง • การพัฒนาคลังข้อมูล • คลังข้อมูลส่วนกลาง • คลังข้อมูลระดับ ศอ • พัฒนาข้อมูลด้านองค์ความรู้ HIA กรณีต่างๆ/ผลกระทบต่อสุขภาพที่เชื่อมโยงกับปัญหา สวล/สุขภาพ/สถานการณ์สำคัญของประเทศ/สถานการณ์ในพื้นที่เสี่ยง/การเชื่อมโยงข้อมูลในพื้นที่/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์อนามัย • พัฒนาข้อมูล • สถานการณ์ในพื้นที่/พื้นที่เสี่ยง • ภาคีเครือข่าย 28
มาตรการ แนวทางการดำเนินงาน ปี 2552 และตัวชี้วัด ตัวชี้วัด การพัฒนาศูนย์อนามัยเป็น Exellence Center ด้าน HIA/การเฝ้าระวัง (เป้าหมาย ปี 2554) • ปี 2552 เตรียมการ ในเรื่อง • การพัฒนาบุคลากร • การจัดหาเครื่องมือ วัสดุ • อุปกรณ์ • ศอ.พิจารณาความพร้อมใน • การเป็น Exellence Center • ด้านใด 29