1 / 19

29 พค 2551 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การประชุมเรื่อง โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 4 ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 20 จังหวัด และ กทม. 29 พค 2551 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ประเด็น. ความเป็นมา วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาการสำรวจ ความร่วมือจากพื้นที่. ความสำคัญ.

Download Presentation

29 พค 2551 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเรื่อง โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 4ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 20จังหวัดและ กทม. 29พค 2551 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  2. ประเด็น การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551 ความเป็นมา วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาการสำรวจ ความร่วมือจากพื้นที่

  3. ความสำคัญ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551 การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย มีลักษณะเฉพาะ เนื่องจากมีการสัมภาษณ์ และตรวจสุขภาพร่างกาย และเป็นการสำรวจสุขภาพระดับประเทศ สำรวจมาแล้ว 3 ครั้งในปี พ.ศ. 2534 พศ. 2539 และ พ.ศ. 2546 ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วย และพฤติกรรมสุขภาพ ของประชาชนในระดับประเทศ ที่ไม่ทราบด้วยระบบข้อมูลอื่น ความสำคัญต่อการวางแผนพัฒนาระบบการจัดบริการทางสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการสร้างสุขภาวะที่ดีแก่ประชาชนทุกคน

  4. วัตถุประสงค์ แสดงสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทย ความชุกของการเจ็บป่วยที่พบบ่อย ภาวะความพิการ และปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชน ในระดับประเทศ ภาค และเขตปกครอง ตามเพศ และกลุ่มอายุ เปรียบเทียบผลการสำรวจสภาวะสุขภาพของประชาชนในครั้งนี้ กับผลการสำรวจ ฯ ในครั้งก่อน เพื่อทราบแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสุขภาพของประชาชนไทยในระยะที่ผ่านมา ใช้ข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์สำหรับการวางแผน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีและการป้องกันโรคที่สำคัญของประชาชนไทยในระยะยาว  การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  5. กลุ่มเป้าหมายและวิธีการกลุ่มเป้าหมายและวิธีการ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551 • สุ่มตัวอย่างแบบ multi-stage random sampling • ตัวอย่าง ประชาชนไทย อายุ 1 ปีขึ้นไป รวม 31,700 คน • เด็ก 1 ถึง 14 ปี จำนวน 9,740 คน • ผู้ใหญ่ 15 ถึง 59 ปี จำนวน 12,240 คน • ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 9,740 คน • พื้นที่สำรวจ ครอบคลุม 21 จังหวัด • 4 ภาคๆ ละ 5 จังหวัด • กทม

  6. ประเด็นสุขภาพที่สำรวจประเด็นสุขภาพที่สำรวจ สุขภาพเด็ก สุขภาพทั่วไป พัฒนาการทางกาย อารมณ์ สติปัญญา การกินอาหาร พฤติกรรม กิจกรรมทางกาย ดูทีวี เกมส์ ฯลฯ สุขภาพวัยแรงงาน และสูงอายุ พฤติกรรมสุขภาพ การบริโภคอาหาร การสูบบุหรี่, ดื่มสุรา กิจกรรมทางกาย การใช้ยา การใช้อาหารเสริม โรคเรื้อรัง ประวัติโรค ตนเอง, ครอบครัว เบาหวาน, ความดันเลือดสูง ไขมันในเลือดสูง, อ้วน โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง, สมรรถภาพปอด หอบหืด โรคไต อนามัยเจริญพันธุ์ อื่นๆ สถานะสุขภาพ (health state) คุณภาพชีวิต ภาวะเลือดจาง ภาวะซึมเศร้า ข้ออักเสบ สุขภาพผู้สูงอายุ(เพิ่มเติม) ภาวะสมองเสื่อม ภาวะพึ่งพาในกิจวัตรประจำวัน การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  7. การสุ่มตัวอย่าง ภูมิภาค ภาค stratum (pps sampling) จังหวัด PSU อำเภอ SSU stratified Sub- stratum เขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล clustering (pps sampling) หน่วยเลือกตั้ง หมู่บ้าน TSU (sys sampling) บุคคล บุคคล FSU การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  8. กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ stratified 12 กลุ่มพื้นที่ stratum (pps sampling) 12 เขต PSU (sys sampling) หน่วยเลือกตั้ง SSU รายบุคคล FSU การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  9. จังหวัดที่ถูกสุ่มในการสำรวจจังหวัดที่ถูกสุ่มในการสำรวจ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • เลย • ขอนแก่น • บุรีรัมย์ • มุกดาหาร • อุบลราชธานี • ภาคเหนือ • เชียงใหม่ • น่าน • สุโขทัย • เพชรบูรณ์ • อุทัยธานี • ภาคกลาง • ปราจีนบุรี • ลพบุรี • จันทบุรี • นครปฐม • เพชรบุรี • ภาคใต้ • ชุมพร • สุราษฎร์ธานี • นครศรีธรรมราช • พัทลุง • สตูล การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  10. จำนวนหน่วย และจำนวนตัวอย่าง การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  11. วิธีการเก็บข้อมูล การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551 การสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสอบถาม การตรวจร่างกาย เก็บตัวอย่างเลือดและปัสสาวะ ระยะเวลา กค. – พย. พ.ศ. 2551

  12. การดำเนินงาน เตรียมการ เครื่องมือ สสท. ผู้เชี่ยวชาญ และเครือข่าย มหาวิทยาลัย ภาค ร่วมกับพื้นที่ เก็บข้อมูลในพื้นที่ ข้อมูลสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการ Lab จังหวัด Lab กลางใน กทม. ประมวลวิเคราะห์ และรายงานผล สสท. ผู้เชี่ยวชาญ และเครือข่าย แจ้งผลรายบุคคล รายงานผลภาพรวม สสท. ผู้เชี่ยวชาญ และเครือข่าย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  13. ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง สัดส่วน TONI 24-hr recall Vision, grip strength Spirome try BP - สัมภาษณ์ Timed walk เจาะ เลือดเก็บตัวอย่างปัสสาวะ BP - สัมภาษณ์ ที่นั่งคอย ลงทะเบียน เข้า ออก การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  14. การตรวจร่างกายการทดสอบพิเศษการตรวจร่างกายการทดสอบพิเศษ เด็ก วัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก, รอบศีรษะ, รอบอก ความดันเลือด (BP) เด็ก 6 ขวบขึ้นไป ทดสอบเชาว์ปัญญา, ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ BP, ชีพจร วัดส่วนสูง น้ำหนัก รอบเอว รอบสะโพก ความยาวแขน แรงบีบมือ สมรรถภาพปอด, ตรวจการมองใกล้ (อายุ >= 40 ปี) ผู้สูงอายุ(60+ ปี): ภาวะสมองเสื่อม การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  15. รายการตรวจทางห้องปฎิบัติการรายการตรวจทางห้องปฎิบัติการ ระบบหัวใจและหลอดเลือด Fasting plasma glucose (รพ. จังหวัด) Total cholesterol, HDL, LDL, Triglyceride (ส่ง Lab กลาง) โรคไต Urine dipstick: protien, rbc etc (รพ. จังหวัด) Serum creatinine (Lab กลาง) ภาวะขาดสารไอโอดีนในเด็ก: Urine Iodine (Lab กลาง) ภาวะซีด CBC, Red cell morphology, Hb ( รพ จังหวัด) การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  16. ความร่วมมือจากพื้นที่ความร่วมมือจากพื้นที่ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551 • สสจ. รพช. และ สอ. ร่วมในการสำรวจพื้นที่ ประชาสัมพันธ์ • อสม., จนท. สอ. รพช. ช่วยหาบุคคลเป้าหมาย และพาตัวอย่างบุคคลให้มาตรวจตามนัด และร่วมในทีมสำรวจ • ขอใช้สถานที่ สอ. รพช. เป็นสถานที่ตรวจร่างกาย • การส่งต่อกรณีพบความผิดปกติ • รพ.จังหวัด • จนท.เทคนิคเจาะเลือด, • การตรวจ lab น้ำตาลในเลือด, RBC morphology, Hb • เตรียม ตย. เลือด และส่งต่อ คลังเลือด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  17. สรุป • การสำรวจจะได้ข้อมูลสุขภาพระดับจังหวัด • การสำรวจ เริ่ม ปลาย มิย. – ตค. 2551 • ดำเนินงานในพื้นที่ โดย ทีมเครือข่ายมหาวิทยาลัยภาค เป็นหลัก • เครือข่ายจะประสานงานกับพื้นที่ ในการดำเนินงานภาคสนาม • ปชส. • สถานที่ตรวจ • คน ยานพาหนะ • ที่พัก ฯลฯ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  18. อภิปราย เครือข่ายมหาวิทยาลัย พบ สสจ. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

  19. ขอบคุณครับ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พศ. 2551

More Related