1 / 20

การขับเคลื่อน แผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันฯในสถานศึกษา ปี 2555

การขับเคลื่อน แผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันฯในสถานศึกษา ปี 2555. เป้าหมาย. สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด. ป้องกันและเฝ้าระวังในสถานศึกษา. ศธ./มท./วธ./กก./ กทม. 11,316 แห่ง. เยาวชนในสถานศึกษา 9,640,193 คน. นร. ป.6 ทั้งประเทศ. 807,438 คน. - ศธ. : 9,959 แห่ง

oren-garcia
Download Presentation

การขับเคลื่อน แผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันฯในสถานศึกษา ปี 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อน แผนงานที่ 3 การสร้างภูมิคุ้มกันฯในสถานศึกษา ปี 2555

  2. เป้าหมาย สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ป้องกันและเฝ้าระวังในสถานศึกษา ศธ./มท./วธ./กก./กทม. 11,316 แห่ง เยาวชนในสถานศึกษา 9,640,193 คน นร. ป.6 ทั้งประเทศ 807,438 คน - ศธ. : 9,959 แห่ง (สพฐ./สอศ./สช./รร.สาธิต) - กทม. :105 แห่ง - กก. : 28 แห่ง - วธ. : 15 แห่ง - มท. : 1,209 แห่ง 50% ของ นร. ป.6 403,719 คน

  3. แนวทางดำเนินงาน สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติดสถานศึกษา 50% นร. ป.6 - จัดตำรวจปฏิบัติหน้าที่ประจำโรงเรียน - ตั้งศูนย์เครือข่าย พสน. ระดับจังหวัด - ตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นร.เสี่ยง เช่น - ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ค่ายสานสายใยครอบครัว - โครงการสร้างจิตอาสา - จิตสังคมบำบัดในโรงเรียนฯลฯ - ตั้งสภานักเรียน /องค์กรวิชาชีพ - จัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ - ลานกีฬา /ลานดนตรี - กิจกรรมช่วงหลังเลิกเรียน ฯลฯ - ตั้งหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติด • MOUครู D.A.R.E. • - พัฒนาวิทยาป้องกันฯ เช่น ครู D.A.R.E. • ครูพระ ฯลฯ • - สนับสนุนวิทยากรป้องกันฯ • เข้าปฏิบัติงานในโรงเรียน • - บรรจุการสอนทักษะชีวิตในหลักสูตร

  4. 1. จัดทำ MOU 1.1 การให้การศึกษาเพื่อต่อต้านการใช้ยาเสพติดในสถานศึกษา 1.2 การทำจิตสังคมในสถานศึกษา 1.3 ตำรวจประสานงานประจำโรงเรียน 1 ตำรวจ 1 โรงเรียน 2. จัดทำแนวปฏิบัติ 2.1 การส่งเสริมสนับสนุน ตำรวจ D.A.R.E. เข้าสอนในสถานศึกษา 2.2 การประสานการดำเนินงานตำรวจปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาเพื่อการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด 2. 3 การทำจิตสังคมบำบัดในสถานศึกษา 2. การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย

  5. 3. การรณรงค์ภาพรวม 3.1 โครงการ 84 พรรษาฯ (15 ธ.ค. 54) 3.2 กิจกรรม“รวมพลัง D.A.R.E. สู้ภัยยาเสพติด”(4 มี.ค. 55) 3.3 รวมพลังเด็กไทย เอาชนะภัยยาเสพติด (19 ส.ค. 55) 4. การหนุนปัจจัยเสริมการปฏิบัติ 4.1 ครูพระสอนศีลธรรม จำนวน 2,130 รูป (จะอบรมเพิ่ม 500 รูป) 4.2 ครู D.A.R.E.จำนวน 3,416 คน 4.3 ครูทหาร จำนวน 173 คน 4.4 ครู (อาชีวะและมัธยม) จำนวน 161 คน 2. การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย

  6. 5. งบประมาณ 5.1 งบลงจังหวัดสำหรับสถานศึกษา (11,316 แห่ง) สถานศึกษาละ 5,000 บาท จำนวน 54,485,000 บาท 5.2 งบอุดหนุนจำนวน 1,090,690 บาท (โรงเรียน 11 แห่ง) 2. การขับเคลื่อนเชิงนโยบาย

  7. 3. ผลการดำเนินงานตามแผน 1. นักเรียนชั้น ป.6 (50%) ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันฯ - เป็นการรายงานจากโรงเรียน 18,785 แห่งโดยจัดกิจกรรมสร้างภูมิฯ ที่หลากหลาย - มีโรงเรียน4,207 แห่ง นร.ป.6 ที่มีวิทยากรฯ สอนทักษะชีวิตให้กับ นร.ป.6 จำนวน 114,665 คน คิดเป็นร้อยละ 28.40 2. สถานศึกษามีกิจกรรมเสริมสร้างการป้องกัน เฝ้าระวังฯ - มีสถานศึกษา 24,817 แห่งรายงาน มีสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์ 20,056 แห่ง (ร้อยละ 80.81) เป็นโรงเรียนเป้าหมาย 7,829 แห่ง (ร้อยละ 69.19) ข้อมูล ณ วันที่ 22ส.ค.2555

  8. นร.ป.6 (50%) ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ข้อมูล ณ วันที่ 22 ส.ค.2555

  9. สถานศึกษามีกิจกรรมการป้องกันและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดสถานศึกษามีกิจกรรมการป้องกันและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ข้อมูล ณ วันที่ 22 ส.ค.2555

  10. 1. การถ่ายทอด/การสั่งการทางนโยบายลงสู่พื้นที่ยังขาดความชัดเจน 2. ความไม่พร้อมของโครงสร้างองค์กรในพื้นที่ต่อการรองรับนโยบาย 2.1สพป.เขต1 ไม่สามารถบูรณาการสถานศึกษาสังกัดอื่นในพื้นที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร 2.2 สพม.ส่วนใหญ่รับผิดชอบสถานศึกษาในพื้นที่หลายจังหวัด 3. การเตรียมการ การบูรณาการแผนและการปฏิบัติของเขตพื้นที่การศึกษาด้วยกันเอง ภายในจังหวัด/อำเภอเดียวกัน 4. ยังมีช่องว่างเกี่ยวกับโครงสร้างกลไกอำนวยการร่วมกันระหว่างศพส.จ./ศพสอ. กับ สพท.ที่เป็นตัวแทนในจังหวัด/อำเภอ นั้นๆ รวมทั้งการจัดสรรงบประมาณ/ทรัพยากรยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ 4. ปัญหาอุปสรรค

  11. 5. การจัดสรร งปม.จากจังหวัดให้สถานศึกษาทำกิจกรรมป้องกันฯ ยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบการทำกิจกรรมภาพรวมของจังหวัดและเขตพื้นที่ฯ 6. วิทยากรเพื่อการป้องกันยาเสพติด ได้แก่ ครูพระ ตำรวจ D.A.R.E.ฯลฯ 6.1 การจัดทำทำเนียบรายชื่อกำลังปฏิบัติไม่เป็นปัจจุบัน 6.2 การพัฒนา วิทยากรเพื่อการป้องกันฯลฯ ล่าช้า/ไม่เพียงพอ 6.3 ไม่มีการจัดทำแผนปฏิบัติการของวิทยากรฯ ที่จะเข้าสอนในโรงเรียน 7. ขาดการกำกับติดตามงานเชิงคุณภาพพื้นที่ 4. ปัญหาอุปสรรค

  12. 8. การรายงานผลการปฏิบัติงานไม่เป็นเอกภาพ/ไม่บูรณาการการรายงาน 8. 1 ยุ่งยากและซ้ำซ้อนเนื่องจาก มี 2 หน่วยรายงาน (ศพส.จ และ สพท.) 8.2 ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นการปฏิบัติงานในสถานศึกษา การรายงานโดย ศพส.จ. ต้องประสานขอข้อมูลจาก สพท./สถานศึกษาเพื่อนำข้อมูลเข้าระบบ 8.3 การรายงานไม่เป็นไปตามแนวทางที่กำหนดที่ให้ สพท./หน่วยต้นสังกัดนำข้อมูลระบบ แต่ในหลายพื้นที่/หน่วยต้นสังกัดให้สถานศึกษารายงาน (คนที่ได้รับการชี้แจงระบบไม่ได้รายงาน คนที่รายงานไม่ได้รับการชี้แจง) 9.การสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้สอนและผู้เรียนในหลักสูตรไม่ชัดเจน 10. การพัฒนาครูแกนนำ นร.แกนนำ ไม่ต่อเนื่อง 11. การเสริมแรงจูงใจ (ด้านจิตใจ) ยกย่องเชิดชูผลการดำเนินงานไม่ครอบคลุม 4. ปัญหาอุปสรรค

  13. เป้าหมายการดำเนินงานป้องกันฯ ในสถานศึกษา ปี 2556 1. ป้องกันเด็กก่อนวัยเสี่ยง ชั้น ป.6 ให้มีภูมิคุ้มกันยาเสพติด ให้ได้ 100%(จำนวน 800,000 คน) 2. สร้างระบบเฝ้าระวังและแก้ไขยาเสพติดในโรงเรียนขยายโอกาส มัธยมอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาทุกแห่ง ทั้งของรัฐและเอกชน(จำนวน 11,480 แห่ง)

  14. การสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โดยการจัดให้ มีวิทยากรเพื่อการป้องกันยาเสพติดเข้าสอนในโรงเรียน เช่น ครูพระสอนศีลธรรม ผู้นำศาสนา ตำรวจ D.A.R.E. ครูที่บูรณาการทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันยาเสพติดไว้ในการเรียนการสอน ฯลฯ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด กิจกรรมกลุ่มเพื่อน กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรค์ ฯลฯ คำนิยามการสร้างภูมิฯ

  15. ปัญหา 1. การถ่ายทอด/การสั่งการทางนโยบายลงสู่พื้นที่ยังขาดความชัดเจน 2. ความไม่พร้อมของโครงสร้างองค์กรในพื้นที่ต่อการรองรับนโยบาย ข้อเสนอแนะ 1.ประชุมผู้บริหารระดับสูงในส่วนกลางเพื่อมอบนโยบายและบูรณาการขับเคลื่อนงานในส่วนกลาง (ปลัด มท./ปลัด ศธ./ ลปส.,/ เลขาธิการองค์กรหลัก (สพฐ./สช./ศอส./กกอ.) 2. ประชุมส่งสัญญาณเพื่อถ่ายทอดชี้แจงและมอบนโยบายสู่การขับเคลื่อนงานเชิงบูรณาการในระดับพื้นที่ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ปลัด มท./ลปส./ผอ.สพม./ ผอ.สพป./รอง ผวจ. ที่รับผิดชอบงานยาเสพติดในสถานศึกษา 4. ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

  16. ปัญหา 3. การบูรณาการแผนและการปฏิบัติของเขตพื้นที่การศึกษาด้วยกันเองภายในจังหวัด/อำเภอเดียวกัน 4. ช่องว่างเกี่ยวกับโครงสร้างกลไกอำนวยการร่วมกันระหว่างศพส.จ./อ. กับ สพท.ที่เป็นตัวแทนในจว./อ. ข้อเสนอแนะ 3. จัดเวทีบูรณาการร่วมระหว่าง ศพส.จ/ศพส.อ. กับ เขตพื้นที่การศึกษาที่เป็นตัวแทนใน จว./อำเภอ เพื่อแจ้ง รร.เป้าหมายให้ความสำคัญ และเร่งรัดการปฏิบัติ ปัญหา 5. การจัดสรร งปม.จากจังหวัดให้สถานศึกษาทำกิจกรรมป้องกันฯ ยังไม่ทั่วถึงเท่าที่ควร ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบการทำกิจกรรมภาพรวมของจังหวัดและเขตพื้นที่ฯ ข้อเสนอแนะ 4. การจัดสรร งปม.ให้สถานศึกษา ให้ ศพส.จ. แจ้ง สพท. รวบรวมโครงการ/กิจกรรมที่สถานศึกษาจะดำเนินการภายในวงเงินที่จะได้รับจากจังหวัด 4. ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

  17. 4. ปัญหาอุปสรรค ปัญหา 6. วิทยากรป้องกันฯ 6.1 การจัดทำทำเนียบรายชื่อกำลังปฏิบัติไม่เป็นปัจจุบัน 6.2 การพัฒนาครูพระ ตำรวจ D.A.R.E. ฯลฯ ล่าช้า/ไม่เพียงพอ 6.3 ไม่มีการจัดทำแผนปฏิบัติการของวิทยากรฯ ที่จะเข้าสอนในโรงเรียนเป้าหมาย ข้อเสนอแนะ 5. วิทยากรเพื่อการป้องกันยาเสพติด ได้แก่ ครูพระ ตำรวจ D.A.R.E. ฯลฯ 5.1 Updateทำเนียบวิทยากรเพื่อการป้องกันฯ ระดับจังหวัด/อำเภอ 5.2 อบรมวิทยากรเพื่อการป้องกันฯเพิ่มเติมและสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ 5.3 สนับสนุนการเข้าสอนของวิทยากรเพื่อการป้องกันฯ - จัดทำแผนเข้าสอนของวิทยากรฯ ในโรงเรียน(ก่อนเปิดเทอม) - จัดหาค่าตอบแทน ตำรวจ D.A.R.E. 5. 4 ติดตามผลการเข้าสอนของวิทยากรเพื่อการป้องกันฯ

  18. ปัญหา 7. ขาดการกำกับติดตามงานเชิงคุณภาพพื้นที่ ข้อเสนอแนะ 6. แต่งตั้งทีมติดตามผลฯ จัดทำแนวทางและปฏิทินการติดตามงานในพื้นที่ 7. กำหนดเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ ปี 2556 เป็นตัวชี้วัดการปฏิบัติงานระดับกระทรวงและระดับจังหวัด ปัญหา 8. การรายงานผลการปฏิบัติงานไม่เป็นเอกภาพ/ไม่บูรณาการการรายงาน 8.1 มี 2 หน่วยรายงาน : ศพส.จ และเขตพื้นที่การศึกษา 8.2 ไม่เป็นไปตามแนวทางที่กำหนด ข้อเสนอแนะ 8. ปรับปรุงการรายงานผลให้หน่วยงานสถานศึกษานำข้อมูลเข้าเพียงหน่วยเดียว แต่ ศพส.จ. สามารถเรียกดูข้อมูลดังกล่าวได้ 4. ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

  19. แนวทางดำเนินงาน ป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติดสถานศึกษา สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ขยายโอกกาส/มัธยม/อาชีว/อุดมทุกแห่ง 100% นร. ป.6 - จัดตำรวจปฏิบัติหน้าที่ประจำโรงเรียน - ตั้งศูนย์เครือข่าย พสน. ระดับจังหวัด - ตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นร.เสี่ยง เช่น - ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ค่ายสานสายใยครอบครัว - โครงการสร้างจิตอาสา - จิตสังคมบำบัดในโรงเรียนฯลฯ - ตั้งสภานักเรียน /องค์กรวิชาชีพ - จัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ - ลานกีฬา /ลานดนตรี - กิจกรรมช่วงหลังเลิกเรียน ฯลฯ - ตั้งหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติด - สนับสนุนวิทยากรป้องกันฯครู D.A.R.E. ครูพระ ฯลฯ เข้าปฏิบัติงานในโรงเรียน - บรรจุการสอนทักษะชีวิตในหลักสูตร - จัดให้มีกิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกัน - การให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด - กิจกรรมกลุ่มเพื่อน - กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ ฯลฯ (จำนวน800,000 คน) (จำนวน 11,480 แห่ง)

  20. ความเพียงพอของปัจจัยเสริมต่อการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ความเพียงพอของปัจจัยเสริมต่อการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ครูพระสอนศีลธรรมฯ จำนวน 2,130 รูป X 4 ห้องเรียน X30 คน/ห้อง นักเรียนจะได้รับการสร้างภูมิฯ = 255,600 คน ครู D.A.R.E. จำนวน 3,416 คน X 4 ห้องเรียน X30 คน/ห้อง นักเรียนจะได้รับการสร้างภูมิฯ = 409,920 คน ดังนั้น นักเรียนจะได้รับการสร้างภูมิฯ ทั้งหมด = 255,600 คน + 409,920คน = 665,520 คน ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับเป้าหมายจะได้ = 800,000 คน –665,520 คน ดังนั้นจะคงเหลือนักเรียนที่ต้องสร้างภูมิฯ = 134,480 คน ซึ่งจะต้องเพิ่มจำนวนวิทยากรสร้างภูมิฯ = 2,242 คน (โดยประมาณ)

More Related