250 likes | 372 Views
การตรวจราชการและ. นิเทศงานที่พึงประสงค์ (2555). แนวคิด หลักการ. ตรวจราชการ. การติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และสั่งการให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย แผนงาน กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน. ตรวจสอบความเดือดร้อนของประชาชน และสั่งการแก้ไข/บรรเทา ผลกระทบจากการปฏิบัติของรัฐ.
E N D
การตรวจราชการและ นิเทศงานที่พึงประสงค์ (2555)
แนวคิด หลักการ ตรวจราชการ การติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และสั่งการให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย แผนงาน กฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ตรวจสอบความเดือดร้อนของประชาชน และสั่งการแก้ไข/บรรเทา ผลกระทบจากการปฏิบัติของรัฐ สอบหาข้อเท็จจริง / สอบสวน กรณีได้รับการร้องเรียน
แนวคิด หลักการ นิเทศงาน การติดตาม ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ตลอดจนผลลัพธ์ตามภารกิจของหน่วยงาน นโยบาย เป้าหมาย แผนงาน และแนวปฏิบัติ วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค สาเหตุ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงาน รายงานผล และข้อเสนอ ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาการ จุดเน้น เครื่องมือ ตรวจราชการ ตรวจเยี่ยม ตรวจสอบข้อร้องเรียน - ให้คุณให้โทษ วิธีปฏิบัติ สิ่งสนับสนุน ตรวจราชการ นิเทศงาน ตามประเด็นนโยบายและงานที่สำคัญ แบบนิเทศ ตรวจราชการ นิเทศงาน ตามประเด็นนโยบายและงานที่สำคัญ ผลงานตามเป้าหมาย ตัวชี้วัด 12/75 ตรวจราชการ นิเทศงาน ตามประเด็นนโยบาย ภารกิจ และตรวจบูรณาการ กรอบการทำงาน ตัวชี้วัด 5/23 กระบวน การปฏิบัติ
การนิเทศ-ประเมินผลเชิงระบบการนิเทศ-ประเมินผลเชิงระบบ
ประเมินสภาพปัญหา นโยบาย การประเมินกลยุทธ์ แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติ การกำกับ ติดตาม การประเมินผล การรายงานผล การปฏิบัติ ผลผลิต ผลลัพท์ ผลกระทบ
แผนบูรณาการเชิงรุก แผนยุทธศาสตร์ เห็นทิศทางในภาพรวม เน้นปัญหาสำคัญ แผนแก้ปัญหา จัดกลุ่มปัญหา/บูรณาการ แต่ละปัญหามีกลยุทธ์/งบประมาณชัดเจน แผนปฏิบัติ มาตรการชัดเจน งบประมาณตามกิจกรรม กิจกรรม
คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง (ระดับจังหวัด) คณะกรรมการวางแผนและประเมินผล (กวป.) คณะกรรมการสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก (MCH) คณะกรรมการควบคุมโรค (CD&NCD) คณะกรรมการการเงินการคลังจังหวัด (CFO) คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพระดับจังหวัด (HSB)
คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง (ระดับเขต) คณะกรรมการพัฒนาสาธารณสุขระดับเขต (คปสข.) คณะอนุกรรมการหลักประกันฯ ระดับเขตพื้นที่ (อปสข.) คณะกรรมการ MCH, DCB, PP, CFO คณะกรรมการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเขต (HSN)
ภาพรวมของการตรวจ/นิเทศงานภาพรวมของการตรวจ/นิเทศงาน ปี 2555
ภาพรวม ปี 2554 1. กรม/หน่วยงานเจ้าภาพ บางส่วนยังคงเน้นตัวชี้วัด และขาดความชัดเจนในมาตรการแก้ไขปัญหา การบริหารจัดการแบบบูรณาการ และการสนับสนุนวิชาการแก่จังหวัด 2. ผู้นิเทศ ยังไม่เข้าใจบทบาทของการเป็นผู้นิเทศแนวใหม่ ที่มี “ขอบเขต” การนิเทศที่กว้างแบบไม่เจาะจง การเป็น “สื่อกลาง” ระหว่างกรมกับจังหวัด รวมถึงปัญหาการพัฒนาศักยภาพของผู้นิเทศ
ภาพรวม ปี 2554 3. ผู้รับการนิเทศ คุ้นเคยรูปแบบการนิเทศแบบเดิมที่เน้นตัวชี้วัด จึงเกิดความสับสนในการนำเสนอภาพการทำงาน 4. สตป. และผู้ประสานงานเขต ยังไม่สันทัดในการสรุปผลตรวจฯ ตลอดจนการจัดทำรายงานที่มีประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะที่ชัดเจน ไม่สะท้อนปัญหาที่พบให้กรม/หน่วยงาน
ภาพรวม ปี 2555 3 ภารกิจ 5 ประเด็นหลัก 19 หัวข้อ 29 ประเด็นตรวจ • ตรวจ/นิเทศ ใช้ “ประเด็นตรวจ” เป็นสื่อกลาง แทนการใช้ “ตัวชี้วัด” และนำไปสู่การให้ความสำคัญต่อ “กระบวนการ” มากที่สุด • คงรูปแบบ “การนิเทศเป็นคณะย่อย” แทนการนิเทศรายตัวชี้วัด “หน่วยงานเจ้าภาพ” ต้องมีโครงการรองรับชัดเจน เป็นหน่วยหลัก มีมาตรการ สิ่งสนับสนุนจังหวัด ให้มี สรุปผลการตรวจ/นิเทศ สะท้อนกลับให้จังหวัดนำไปปรับปรุงแก้ไข
ประเด็นตรวจ การดำเนินงานเพื่อสนองนโยบายและแก้ไขปัญหาเร่งด่วน • การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ ทั้งเขตเมืองและชนบท การบริหารจัดการระบบบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ 6 ข้อ • การสร้างสุขภาพ เพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อ 1) การพัฒนาเครือข่าย NCD ระดับอำเภอและจังหวัดตามยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 2) การป้องกัน ควบคุม NCD และการพัฒนาระบบบริการและการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5 กลุ่มโรค 3. การจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุข กรณีภัยพิบัติ โรคระบาด และภัยสุขภาพ การพัฒนาระบบ EMS อย่างเป็นระบบและได้มาตรฐาน
ประเด็นตรวจ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และระบบหลักประกันฯ 1. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ทั้งปฐม ทุติย ตติย ของจังหวัด 1) การจัดการทรัพยากร 2) การจัดการระบบเครือข่าย 3) คุณภาพบริการ 4) ผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน 2. การพัฒนาระบบส่งต่อ 1) การดำเนินงานของศูนย์ประสานการส่งต่อ จังหวัด/เขต 2) การจัดตั้งเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ และเชื่อมโยงกับศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูงภายในเขต 3) ระบบข้อมูลรายงานที่สะท้อนประสิทธิภาพระบบส่งต่อ
ประเด็นตรวจ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และระบบหลักประกันฯ 3. ประสิทธิภาพการบริการด้านรักษา ส่งเสริมป้องกัน และฟื้นฟู 1) ประสิทธิภาพการบริการด้านรักษา 2) ประสิทธิภาพการบริการด้านส่งเสริมป้องกัน 3) ประสิทธิภาพการบริการด้านฟื้นฟูสมรรถภาพ
ประเด็นตรวจ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยง 1. การจัดทำแผนบูรณาการงานส่งเสริมป้องกันเชิงรุก การจัดทำแผนบูรณาการระดับจังหวัด 2. การป้องกันและควบคุมโรค กระบวนการดำเนินงานให้เกิด อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ 3. การดูแลปัญหาสุขภาพจิต ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันการฆ่าตัวตาย และติดตามดูแลผู้พยายามฆ่าตัวตาย 4. การดูแลสุขภาพแม่และเด็ก และผู้สูงอายุ 1) ระบบและกระบวนการพัฒนามาตรฐาน รพ.สายใยรักฯ 2) การจัดตั้งและพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุ
ประเด็นตรวจ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยง 5. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 1) กระบวนการกำกับดูแลมาตรฐานและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2) กระบวนการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน 6. การส่งเสริมการใช้บริการแพทย์แผนไทย และทางเลือกในระบบบริการสุขภาพ ระบบการส่งเสริมสนับสนุนการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและทางเลือกเพิ่มขึ้น
ประเด็นตรวจ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ 1. การบริหารการเงินการคลังระดับจังหวัด/เขต 1) การพัฒนาระบบควบคุมภายในตามมาตรฐานระบบราชการ 2) การตรวจสอบคุณภาพบัญชีคงค้าง 3) การบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ 2. การบริหารจัดการบุคลากร 1) แผนความต้องการและการจัดการกำลังคนเพื่อรองรับ service plan 2) การพัฒนากำลังคน 3. การควบคุมภายใน ระบบการควบคุมภายในของจังหวัด
ประเด็นตรวจ การบริหารจัดการระบบสุขภาพ 4. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม จังหวัดมีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามแนวทางการบริหารจัดการกิจการบ้านเมืองที่ดี
ข้อเสนอแนะ ผู้นิเทศงาน • เรียนรู้และพัฒนาตนเองในบทบาทของการนิเทศ โดยควรเรียนรู้เนื้อหาของงาน และ เรียนรู้สภาพปัญหา ระบบ และกระบวนการทำงานของจังหวัด ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญ • ทำหน้าที่ “สื่อกลาง” รวมทั้งบทบาทการสะท้อนปัญหาจากการนิเทศงานแก่จังหวัด และข้อเสนอต่อกรม/หน่วยงาน
ข้อเสนอแนะ ผู้นิเทศงาน • รวบรวมข้อมูลในหน่วยงานและพื้นที่เป็นการล่วงหน้า เพื่อประเมิน ความชัดเจนของสภาพปัญหา ในภาพจังหวัด • วิเคราะห์ กระบวนการดำเนินงาน จาก จว. สู่ผู้ปฏิบัติ และผลที่เกิดขึ้น สอดคล้องกับการแก้ปัญหาหรือไม่ • สรุปผลการนิเทศรายจังหวัด จัดทำข้อเสนอแนะโดยย่อ • ข้อมูลสถานการณ์ของปัญหา แนวโน้ม และสาเหตุที่เกี่ยวข้อง • ข้อมูลกิจกรรมและงบประมาณปีที่ผ่านมา หรือปีปัจจุบัน • ข้อมูลผลลัพธ์ของการดำเนินงาน เทียบกับวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ผู้รับการนิเทศ • กลุ่มยุทธศาสตร์ สสจ. ควรทำความเข้าใจกับผู้รับผิดชอบในจังหวัด อำเภอ และผู้ปฏิบัติ ให้ทราบ “ขอบเขต” ในประเด็น โดยเฉพาะกระบวนการทำงาน มากกว่าตัวชี้วัด • ผู้เกี่ยวข้อง เตรียมการและนำเสนอรายงานผลการดำเนินงานจริง ประกอบด้วยข้อมูลสถิติที่จำเป็น และตรวจสอบความถูกต้อง • ผู้เกี่ยวข้องรับฟังสรุป หรือข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศ ควรซักถาม • กลุ่มยุทธศาสตร์ สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะจากการนิเทศ เพื่อหารือและติดตามผลการปรับปรุงภายหลังการตรวจ/นิเทศ
ข้อเสนอแนะ ผู้ประสานงานเขต และ สตป. • ผู้ ปสง.เขต เรียนรู้และทำความเข้าใจเนื้อหาเรื่องราวตามหัวข้อปี 2554 ทั้งหมด หรือซักถามจากผู้เกี่ยวข้อง • ผู้ ปสง.เขต บริหารจัดการตรวจ/นิเทศ ได้แก่ การจัดหาผู้นิเทศ การประสานงานเพื่อชี้แจงและซักซ้อมก่อนการนิเทศ การเตรียมการเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลร่วมกับผู้นิเทศ และการรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะ จัดทำรายงานสรุปสาระสำคัญ • สตป. รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะในภาพรวม จัดกลุ่มปัญหาและข้อเสนอแนะ พิจารณาข้อเสนอที่สำคัญร่วมกับกรม/หน่วยงานต่อไป