260 likes | 450 Views
นโยบายหลักประกันสุขภาพกับท้องถิ่น. นพ.ปัญญา กีรติหัตถยากร ที่ปรึกษาอาวุโส สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1 กุมภาพันธ์ 2555. พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ . ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ มีผลใช้บังคับวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ .
E N D
นโยบายหลักประกันสุขภาพกับท้องถิ่นนโยบายหลักประกันสุขภาพกับท้องถิ่น นพ.ปัญญา กีรติหัตถยากร ที่ปรึกษาอาวุโส สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 1 กุมภาพันธ์ 2555 สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ มีผลใช้บังคับวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หลักการเหตุผลและสาระสำคัญของ พรบ.หลักฯ หลักการและเหตุผล… ..เพื่อให้สิทธิบริการสาธารณสุขแก่บุคคลตามรัฐธรรมนูญมาตรา ๕๒ มาตรา ๘๒ ...การบริหารจัดการรวมกันเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการเบิก จ่ายเงินค่าบริการสาธารณสุขของภาครัฐโดยรวม สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สาระสำคัญ มาตรา ๑๓ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มี ๓๐ ท่าน คือ (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน (๒) ปลัดกระทรวงกลาโหม การคลัง พาณิชย์ มหาดไทย แรงงาน สาธารณสุข ศึกษาธิการ และผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ (๓) ผู้แทนเทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(๔) ผู้แทนเทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบอื่น สาระสำคัญ มาตรา ๔๘ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพ มี ๓๕ ท่าน คือ (๕) ผู้แทนพยาบาลและผดุงครรภ์ ทันตกรรม และเภสัชกรรม (๖) ผู้แทนราชวิทยาลัยแพทย์เฉพาะทางสาขาสูตินรีเวช สาขาศัลยกรรม สาขาอายุรกรรม และสาขากุมารเวชกรรม (๗) ผู้แทนผู้ประกอบโรคศิลปะ...จำนวนสามคน สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หลักการเหตุผลและสาระสำคัญของ พรบ.หลักฯ หน้าที่ของคณะกรรมการหลักฯ • สาระสำคัญ มาตรา ๑๘ (๘) สนับสนุนและประสานกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ตามมาตรา ๔๗ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้เป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า พ.ศ. 2551 - 2554 กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างความรู้ความเข้าใจในนโยบายและแนวทางระบบ หลักประกันสุขภาพและบทบาทขององค์กรภาคีทุกกลุ่ม กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการจัดการความรู้ของการมี ส่วนร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคีในการ บริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมระหว่างองค์กร วิชาชีพผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลยุทธ์ที่ 5การสนับสนุนความร่วมมือและบูรณาการงานระหว่างเครือข่าย ประชาชน วิชาชีพ ผู้ให้บริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ หน่วยงานทุกระดับ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ประชาชน ท้องถิ่น +องค์กรภาคี ระบบหลักประกัน สุขภาพที่ยั่งยืน ผู้ให้บริการ สปสช. สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
บทบาทขององค์กรท้องถิ่นในการดำเนินงานหลักประกันสุขภาพบทบาทขององค์กรท้องถิ่นในการดำเนินงานหลักประกันสุขภาพ 1. ดำเนินการบริหารและจัดบริการสาธารณสุขเองเต็มรูปแบบ บริการปฐม โรงพยาบาล / เทศบาล 2. สนับสนุนการจัดบริการของหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ - งบประมาณ - บุคลากร - สถานที่ . ครุภัณฑ์ ฯลฯ 3. มีส่วนร่วมในการดำเนินงานจัดบริการสาธารณสุขในพื้นที่ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การมีส่วนร่วมของภาคีในระบบหลักประกันสุขภาพการมีส่วนร่วมของภาคีในระบบหลักประกันสุขภาพ • การมีส่วนร่วมของเครือข่ายประชาชน • การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • การมีส่วนร่วมของวิชาชีพ • การมีส่วนร่วมขององค์กรพันธมิตร สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการใกล้บ้านที่ประชาชนไว้วางใจ และเลือกที่จะไปใช้บริการเป็นแห่งแรก เมื่อเจ็บป่วยหรือต้องการความช่วยเหลือและคำแนะนำในด้านสุขภาพ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
บทบาทของท้องถิ่นในการจัดระบบบริการปฐมภูมิบทบาทของท้องถิ่นในการจัดระบบบริการปฐมภูมิ • จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ • จัดบริการปฐมภูมิเสริมในพื้นที่ที่ขาดแคลน เช่น กิ่งอำเภอ • จัดบริการปฐมภูมิเสริมในพื้นที่แออัด เช่น เขตเมือง • ผลิต/พัฒนาบุคลากรสาธารณสุข และบรรจุเข้าทำงานในชุมชน • จัดตั้งกองทุนพัฒนาสุขภาพ ในลักษณะไตรภาคี • มีส่วนร่วมในด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การแพทย์แผนไทย และบริการอื่นๆที่เสริมจากชุดสิทธิประโยชน์ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ วัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพ ของหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่นๆ • เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในชุมชน สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพอย่างน้อยตามชุดสิทธิประโยชน์ที่กำหนด 3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในตำบลโดยการบริหารจัดการ ของท้องถิ่นและชุมชน สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ที่มาของเงินทุน • เงินค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในส่วนของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด • เงินอุดหนุนที่ได้รับจากองค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล หรือที่ได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น • เงินสมทบจากชุมชนหรือกองทุนชุมชน • รายได้อื่นๆหรือทรัพย์สินที่กองทุนได้รับมาในกิจการของกองทุน สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สัดส่วนเงินสมทบ • อบต.ขนาดใหญ่หรือเทศบาลสมทบไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจาก กองทุนหลักประกัน ฯ • อบต.ขนาดกลางสมทบไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจากกองทุน ฯ • อบต.ขนาดเล็กสมทบไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของค่าบริการสาธารณสุขที่ได้รับจากกองทุน ฯ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ตัวอย่างของท้องถิ่น ในการจัดระบบบริการปฐมภูมิ • จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ • การใช้แพทย์แผนไทย เพื่อดูแลผู้พิการแบบจิตอาสา ของเทศบาลบางยาง • จัดบริการปฐมภูมิเสริมในพื้นที่ที่ขาดแคลน เช่น กิ่งอำเภอ • คลินิกทุ่ง ท่า น้ำ โดยรพ.หาดใหญ่ร่วมกับอบต.3 แห่ง(ทุ่งใหญ่ ท่าข้าม น้ำน้อย) • คลินิกบ้านพุ ของเทศบาลบ้านพุ อ.หาดใหญ่ สงขลา • จัดบริการปฐมภูมิเสริมในพื้นที่แออัด เช่น เขตเมือง • ร.พ.20,000 เตียง ของเทศบาลนครศรีธรรมราช • ร.พ.หัวทะเล ของเทศบาลหัวทะเล นครราชสีมา • คลินิกชุมชนอบอุ่น เทศบาลชุมแสง นครสวรรค์ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ตัวอย่าง ความสำเร็จของการพัฒนาบริการปฐมภูมินอกพยาบาล Before After บริเวณOPD รพ.แพร่ เวลา 11.00 น. เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการฯ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
คลินิกชุมชนอบอุ่น สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กายภาพบำบัด สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ทันตภิบาล สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ตัวอย่างของท้องถิ่น ในการจัดระบบบริการปฐมภูมิ • ผลิต/พัฒนาบุคลากรสาธารณสุข และบรรจุเข้าทำงานในชุมชน • จัดตั้งกองทุนพัฒนาสุขภาพ ในลักษณะไตรภาคี • สองบาทร่วมลงขัน หล่มสัก เพชรบูรณ์ • กองทุนครูชบ สงขลา 6. มีส่วนร่วมในด้านการแพทย์ฉุกเฉิน การแพทย์แผนไทย และบริการอื่นๆที่เสริมจากชุดสิทธิประโยชน์ สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร.พ.น้ำพอง จ.ขอนแก่น สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
EMS สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ประชาชนเป็นเจ้าของระบบหลักประกันสุขภาพ... สวัสดี .... สำนักกฎหมาย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ