1 / 113

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ Comparative Local Government (รหัส 002724). โดย รองศาสตราจารย์ ดร. โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เอกสารประกอบการบรรยายนักศึกษาระดับปริญญาโท วิชา การ ปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ Comparative Local Government (002724)

ronan-mejia
Download Presentation

โดย รองศาสตราจารย์ ดร. โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบComparative Local Government (รหัส 002724) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกสารประกอบการบรรยายนักศึกษาระดับปริญญาโท วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบComparative Local Government (002724) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. ผู้บรรยาย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม ห้อง 517 ชั้น 5 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โทรศัพท์ 02-6132519 E-mail : ko_wit517@hotmail.com

  3. แนวสังเขปลักษณะวิชา • ศึกษาและอภิปรายแนวคิดการปกครองท้องถิ่น • วิวัฒนาการของการปกครองท้องถิ่น • รูปแบบการจัดองค์กรปกครองท้องถิ่นในประเทศและต่างประเทศ • การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบันและทิศทางแนวโน้มการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นในอนาคต

  4. วัตถุประสงค์ของวิชา • มีความรู้ความเข้าใจ ความสำคัญ แนวคิด ทฤษฏี หลักกระจายอำนาจ และการปกครองท้องถิ่น • เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ รัฐบาลกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้างองค์กรปกครองท้องถิ่น อำนาจหน้าที่ในการบริหารจัดการ • วิเคราะห์เปรียบเทียบกับการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประเทศ • สามารถวิเคราะห์การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบันตามรัฐธรรมนูญและทิศทางแนวโน้มการปกครองท้องถิ่นไทยในอนาคต

  5. หัวข้อ เนื้อหาวิชาโดยสังเขป • ความสำคัญและแนวคิดการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น • ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการ ส่วนกลาง หลักการรวมอำนาจ หลักการแบ่งอำนาจ และการกระจายอำนาจ • การปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบ การจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยและต่างประทศ • วิเคราะห์เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประทศ • อภิปรายการปกครองท้องถิ่นไทยกับทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยในอนาคต

  6. การเมืองการปกครองท้องถิ่นการเมืองการปกครองท้องถิ่น รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  7. แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประเทศ ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นไทยและต่างประเทศ

  8. แนวคิดการปกครองท้องถิ่น • รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม • คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  9. แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น • ประชาธิปไตยท้องถิ่น เป็นการปกครองตนเองของประชาชน (Self-government Democracy) • ประชาธิปไตยท้องถิ่นจะต้องสร้างพลเมือง (Citizen) International Institute for Democracy and Electoral Assistance (IDEA,2001) • สถาบันการปกครองท้องถิ่น / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Institution of Local Government) • องค์กรภาคประชาสังคม (Civil Society)

  10. แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น David Mathews : Politics of the People • ประชาธิปไตยต้องมีการปกครอง ของประชาชนมากที่สุด • รื้อฟื้นความคิด อุดมการณ์ปกครองตนเอง

  11. แนวคิดประชาธิปไตยท้องถิ่นแนวคิดประชาธิปไตยท้องถิ่น Robert Dahl / Bookchin ประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดได้ในเมืองเล็กๆ ขนาดย่อม อาศัยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา ร่วมทำประโยชน์ให้บ้านเมืองโดยประชาชนเอง

  12. Plato : ประชาธิปไตยท้องถิ่น • Plato’s Republic • The Law : Citizen

  13. การปกครองท้องถิ่น อปท. สถาบัน Institution สภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น และพนักงานท้องถิ่น การส่วนร่วม การส่วนร่วม ภาคพลเมือง (Civil Society) การตรวจสอบ/กำกับดูแล

  14. ทำไมต้องมีการปกครองท้องถิ่น ? การปกครองท้องถิ่นเป็นความจำเป็นในระบอบประชาธิปไตย 1 เป็นรากฐานประชาธิปไตย 2 เป็นการฝึกหัดความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ (Accountability) การมีส่วนร่วมของประชาชน (Politics of The People) การรู้จักสิทธิหน้าที่ และเคารพความคิดเห็น เวทีสร้างการเมืองระดับชาติ 3 เป็นการแบ่งเบาภาระรัฐบาลกลาง

  15. เราจะจัดการปกครองท้องถิ่นอย่างไร ? • พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น • พิจารณารูปแบบของ อปท. • พิจารณาระบบ Tier System การจัดชั้นของท้องถิ่น • พิจารณาการจัดโครงสร้างภายใน อปท. แบบที่ประชุมเมือง : Town Meeting แบบสภา-นายกเทศมนตรี :The Council – Manager Form แบบนายกเทศมนตรีอ่อนแอ : Weak Mayor Form แบบนายกเทศมนตรีเข้มแข็ง :The Strong Mayor Form แบบคณะกรรมการ : Commission Form แบบผู้จัดการเมือง : City Manager Form

  16. แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นกระบวนการ (Process) การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นการตัดสินใจ (Decision Making) การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder)

  17. การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นกระบวนการ (Process) Major kinds of Participation (Cohen and Uphoff) ดำเนินการตัดสินใจ ดำเนินกิจกรรม รับผลประโยชน์ ประเมินผล

  18. การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นกระบวนการ (Process) ไพรัตน์ เตชะรินทร์ / เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง กระบวนการส่งเสริม และเปิดโอกาส ร่วมคิด ร่วมวางแผน ดำเนินโครงการ กิจกรรม ควบคุม ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล ร่วมปฏิบัติ ร่วมลงทุน

  19. การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นการตัดสินใจการมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นการตัดสินใจ (Decision Making) กระบวนการมีส่วนร่วม (Process) Wertheim / Lisk กำหนดความต้องการ การเข้าไปมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจทุกระดับ กำหนดนโยบาย การบริหารจัดการ อำนาจบุคคล กลุ่ม องค์กร

  20. การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) ร่วมรับผลประโยชน์ร่วม การใช้ทรัพยากร ลงทุนและลงแรง สิทธิและหน้าที่จะร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมรับผิดชอบร่วม ร่วมรับผลกระทบร่วม การทำประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ

  21. สูง การควบคุมโดยประชาชน ร่วมติดตามตรวจสอบ จำนวนประชาชนที่เข้าร่วม การร่วมปฏิบัติ ระดับการมีส่วนร่วม การวางแผน / การตัดสินใจร่วมกัน การปรึกษาหารือ การเปิดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน / ให้ข้อมูล การรับข้อมูล ต่ำ ระดับการมีส่วนร่วม (1)

  22. มีโอกาสตัดสินใจด้วยตนเองมีโอกาสตัดสินใจด้วยตนเอง มีส่วนร่วมสูงที่สุด มีโอกาสเสนอโครงการ มีส่วนร่วมสูง มีโอกาสเสนอความเห็น มีส่วนร่วมปานกลาง ถูกสัมภาษณ์ความต้องการ ถูกชักชวน มีส่วนร่วมน้อย ถูกหลอก ถูกบังคับ ไม่มีส่วนร่วมเลย ระดับการมีส่วนร่วม (2)

  23. ปัจจัย/เงื่อนไขการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน

  24. สถานการณ์การมีส่วนร่วมใน อปท. ประชาชนมีส่วนร่วมเพียงรูปแบบ 1 รูปแบบการออกระเบียบฯให้มีส่วนร่วม 2 รูปแบบการถูกระดมให้มีส่วนร่วม รูปแบบความเกรงใจ ขอไปที 3 วาทกรรมการมีส่วนร่วม

  25. ระเบียบ คำสั่ง กำหนดให้มีส่วนร่วม • ระเบียบการจัดทำแผนพัฒนา อปท. ผู้แทนประชาคม แต่งตั้งเป็น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น • ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ผู้แทนประชาคม แต่งตั้งเป็น คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการจัดซื้อ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

  26. การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ กรณี อปท. หลักการตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญฯ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ

  27. การกำกับดูแล • กำกับดูแลเท่าที่จำเป็น • กำกับดูแลตามที่กฎหมายกำหนดไว้ • กำกับดูแลเพื่อคุ้มครองประโยชน์ประชาชน • กำกับดูแลโดยองค์การบริหาร (การกำกับดูแลทางการคลัง , การกำกับดูแลงบประมาณ)

  28. กำกับดูแลโดยผู้มีอำนาจเหนือ • ส่วนกลาง ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ กำกับดูแลโดยประชาชน • มาตรา 285 เข้าถอดถอน • มาตรา 284 ออกเสียงประชามติ

  29. กรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชนกรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชน ประเทศเกาหลีใต้

  30. กรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชนกรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชน ผลงาน P S D P รณรงค์หาทุน ต่อต้านการทุจริต สร้าง Open System FOR PARTICIPATORY SOLIDARITY PEOPLE’S DEMOCRACY เผยแพร่ข้อมูล

  31. PSPD: People’s Solidarity for Participatory Democracy • Participation of Citizens • Solidarity of Citizens • Civil Watch • Alternative

  32. การปกครองท้องถิ่นไทย • รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม • คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  33. พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 5 ทรงริเริ่มให้ประชาชนในท้องถิ่นร่วมกับรัฐ ดูแลกิจการรักษาความสงบเรียบร้อยของหมู่บ้าน ตำบล พ.ร.บ.ปกครองท้องถิ่น ร.ศ.116 (พ.ศ.2440) มีการเลือกผู้นำตามธรรมชาติเป็น “ผู้ใหญ่บ้าน” และให้ผู้ใหญ่บ้านเลือก “กำนัน” กันเอง พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  34. พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2441 ร่วมจัดตั้งสุขาภิบาลเขตเมือง “สุขาภิบาลกรุงเทพฯ” ร.ศ.124 (พ.ศ.2448) ทรงสนับสนุนให้ราษฎรร่วมจัดตั้ง “สุขาภิบาลท่าฉลอม” ณ ตำบลท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร (หัวเมือง) ร.ศ.127 (พ.ศ.2451) ทรงตรา พ.ร.บ.จัดการสุขาภิบาล รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  35. พ.ร.บ.จัดการสุขาภิบาล ร.ศ.127 โดยมีจุดมุ่งหมาย ....ให้ราษฎรในท้องถิ่นช่วยกันบริหารดำเนินงานเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของบ้านเมือง ถนนหนทาง ตลาด และอื่นๆในท้องถิ่น การป้องกันและรักษาโรคภัยไข้เจ็บแก่ราษฎร การดูแลรักษาทางสัญจรไปมา การศึกษาขั้นต้นของราษฎร..... แบ่งสุขาภิบาล เป็น 2 ประเภท สุขาภิบาลเมือง ในเขตเมือง ที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด สุขาภิบาลท้องที่ ในเขตตำบล สรุป ทรงวางรากฐานการปกครองตนเองของชุมชน รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  36. พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 6 พ.ศ.2453 - 2468 จัดตั้งสภาประชาธิปไตยระดับชาติเรียกว่า “ดุสิตธานี” และสร้างขบวนการลูกเสือ สภาพของสุขาภิบาล และการปกครองท้องถิ่น นิ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  37. พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 7 ....ข้าพเจ้าเห็นว่า สิทธิเลือกตั้งของประชาชน ควรจะเริ่มต้นที่การปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล ประชาชนควรมีสิทธิมีเสียงในกิจการท้องถิ่น ข้าพเจ้าเห็นว่า เป็นการผิดพลาด ถ้าเราจะมีการปกครองระบบรัฐสภา ก่อนที่ประชาชนจะมีโอกาสเรียนรู้และมีประสบการณ์อย่างดีเกี่ยวกับการใช้สิทธิเลือกตั้งในกิจการปกครองท้องถิ่น..... รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  38. พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 7 ทรงสนพระทัยรูปแบบการปกครองตนเองแบบ “เทศบาล” ให้มีการยกร่างกฎหมายจัดตั้ง “เทศบาล” ยกระดับสุขาภิบาลเป็น “เทศบาล” ทั้งหมด สรุปการเมืองการปกครองไทย หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบ “อำมาตยาธิปไตย” (Bureaucratic Policy)ข้าราชการประจำมีบทบาทมาทางการเมือง รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  39. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2476 คณะราษฎรมีนโยบายในการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ผ่าน พ.ร.บ.จัดระเบียบเทศบาล แบ่งเทศบาลออกเป็น 3 แบบ คือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล แบ่งเทศบาลออกเป็น 2 องค์กร คือ สภาเทศบาล และคณะเทศมนตรี รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  40. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2495 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นำเอารูปแบบสุขาภิบาลมาใช้อีกครั้ง ผ่าน พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2495 • กำหนดหลักเกณฑ์ • เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอหรือกิ่งอำเภอ หรือ • ชุมชนที่มีตลาดการค้า 100 ห้อง มีราษฎรอย่างน้อย 1,500 คน • กรรมการบริหารประกอบด้วย • กรรมการโดยตำแหน่ง • กรรมการโดยการแต่งตั้ง • กรรมการโดยการเลือกตั้ง ให้นายอำเภอเป็นประธานคณะกรรมการสุขาภิบาล ให้ปลัดอำเภอคนหนึ่งเป็นปลัดสุขาภิบาล รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  41. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2498-2499 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (อบจ.) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนตำบล (อบต.) รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  42. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2509 รัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร ยุบ อบต. ตั้งคณะกรรมการสภาตำบลขึ้นแทน • กรรมการบริหารประกอบด้วย • กรรมการโดยตำแหน่ง คือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และแพทย์ประจำตำบล • กรรมการโดยการแต่งตั้ง คือ ครู ซึ่งนายอำเภอแต่งตั้ง • กรรมการโดยการเลือกตั้ง คือ ราษฎรจากหมู่บ้านละ 1 คน รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  43. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2515 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 335 รวมเทศบาลกรุงเทพกับเทศบาลธนบุรีเข้าด้วยกันกลายเป็น “กรุงเทพมหานคร”(กทม.) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมาจากการแต่งตั้งมีวาระ 4 ปี ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในปี พ.ศ.2521 รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  44. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2521 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษครั้งแรก ตรา “พระราชบัญญัติเมืองพัทยา” • การบริหารเมืองพัทยา แบ่งออกเป็น 2 องค์กร • สภาเมืองพัทยา • ฝ่ายบริหารสภาเมืองพัทยา • มีสมาชิก 2 ประเภทได้แก่ • ประเภทเลือกตั้ง • ประเภทแต่งตั้ง • “นายกเมืองพัทยา” มาจากเลือกตั้งของสมาชิก • “ปลัดเมืองพัทยา” มาจากการแต่งตั้งโดยสภาเมืองพัทยา รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  45. การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2535-2539 สังคมไทยเริ่มตื่นตัวในนโยบายการปรับปรุง การปกครองท้องถิ่น โดยรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินการสำคัญ 5 ประการได้แก่ • ให้สมาชิกสภาจังหวัด(สจ.)เลือกนายก อบจ. • สตรีสามารถดำรงตำแหน่งปลัดอำเภอคนแรกได้ในปี พ.ศ.2536 • สตรีสามารถดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการได้คนแรกในปี พ.ศ.2537 • รัฐบาลเสนอร่าง พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล • สตรีสามารถดำรงตำแหน่งนายอำเภอคนแรกในปี พ.ศ.2539 รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  46. การเมืองการปกครอง พ.ศ.2540 หลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540-2542 • ออก พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 • ออก พ.ร.บ. ยกเลิก พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2495 • ออก พ.ร.บ.เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542 • แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ด้านโครงสร้างสมาชิกและการบริหาร • แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 ในการเพิ่มอำนาจหน้าที่ อบจ. • แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2536 กำหนดการเลือกตั้งและวาระของนายกเทศมนตรี • ออก พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  47. การเมืองการปกครอง พ.ศ.2540 หลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2543-2546 กฎหมายที่กำหนดทิศทางของ อปท.ตามรัฐธรรมนูญ 2540 • พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 • พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 • พ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ.2542 • พ.ร.บ.ว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542 • พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2545 • ปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.ต่างๆ ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและไม่เกิน 2สมัย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  48. การเมืองการปกครอง พ.ศ.2550 ตามรัฐธรรมนูญ 1. ประเด็นหลักความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำบริการสาธารณะโดยรัฐมีหน้าที่ส่งเสริมการดำเนินการให้มีความอิสระ 2. ประเด็นการกำกับดูแลท้องถิ่น (มาตรา 282) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องกำหนดมาตรฐานกลาง 3. ประเด็นการกำหนดการส่งเสริมและช่วยเหลือให้ อปท. มีความเข้มแข็งในการบริหารงาน รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

  49. การเมืองการปกครอง พ.ศ.2550 ตามรัฐธรรมนูญ 4. ประเด็นโครงสร้าง อปท.(มาตรา 284) 5.ประเด็นอำนาจหน้าที่ของ อปท. (มาตรา 283)และตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนฯ 6. ประเด็นการจัดเก็บภาษีและรายได้ (มาตรา 283) 7. ประเด็นเรื่องการบริหารงานบุคคลของ อปท. (มาตรา 288) 8. ประเด็นเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน (มาตรา 285 - 286)  การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น  การเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการบริหาร อปท. รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University

More Related