300 likes | 891 Views
แนวปฏิบัติเรื่อง การคัดเลือกและการประเมินผลงาน เพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น. ของ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม วันที่ 9 กรกฎาคม 2555 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่. ข้อกฎหมายและ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง.
E N D
แนวปฏิบัติเรื่อง การคัดเลือกและการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ของ สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม วันที่ 9 กรกฎาคม 2555 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน จังหวัดเชียงใหม่
ข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 63 การย้าย การโอน หรือการเลื่อนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญในหรือต่างกระทรวงหรือกรม แล้วแต่กรณี ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. 2. หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006 / ว 7 ลงวันที่ 6 มีนาคม 2552 กำหนดกรณีการเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ ให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่กำหนดในหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006 / ว 10 ลงวันที่ 15 กันยายน 2548
ข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3. หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006 / ว 10 ลงวันที่ 15 กันยายน 2548 กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ 3.1 การคัดเลือกบุคคลก่อนเข้ารับการประเมินผลงาน 3.2 การประเมินผลงานเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น 3.3 การประเมินผลงานเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ 4. ประกาศ อ.ก.พ. สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ลงวันที่ 23 มกราคม 2549 กำหนดเกณฑ์และวิธีการตามแนวทาง ที่ ก.พ. กำหนด และตามหนังสือสำนักงานปลัด กระทรวงวัฒนธรรม ที่ วธ 0203.1/3071 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2553 แจ้งกำหนดจำนวนผลงานที่ส่งเข้ารับการประเมิน ดังนี้ 4.1 กรณีประเมินเลื่อนขึ้นแต่งตั้งเป็นระดับชำนาญการ ให้ส่งผลงานจำนวน ไม่เกิน 2 เรื่อง และข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางาน จำนวน 1 เรื่อง 4.2 กรณีประเมินเลื่อนขึ้นแต่งตั้งเป็นระดับชำนาญการพิเศษ ให้ส่งผลงานจำนวนไม่เกิน 3 เรื่อง และข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางาน จำนวน 1 เรื่อง
ข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องข้อกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 5. หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008.3.3/221 ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2552 ก.พ. มีมติรับทราบการจัดกลุ่มตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการเพื่อประโยชน์ในการย้าย ย้ายสับเปลี่ยน รับโอน หรือบรรจุกลับเข้ารับราชการ ในสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงวัฒนธรรมรวม 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1นักวิชาการวัฒนธรรมกลุ่มที่ 2 นักวิชาการตรวจสอบภายใน นักจัดการงานทั่วไป นักวิชาการเงินและบัญชี นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการพัสดุ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักประชาสัมพันธ์ กลุ่มที่ 3 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 4 นิติกร
ขั้นตอนดำเนินการ กรณี การคัดเลือกเพื่อเข้ารับการประเมินผลงานเลื่อนขึ้นแต่งตั้งในตำแหน่งระดับชำนาญการ กลุ่มบริหารงานบุคคล สำรวจข้อมูลผู้มีคุณสมบัติ / ผู้บังคับบัญชาระดับสำนัก ประเมินคุณลักษณะ/ แจ้งผู้มีคุณสมบัติส่งเอกสารประกอบการคัดเลือก ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พิจารณาคัดเลือกบุคคล เห็นชอบ ประกาศรายชื่อผู้ได้รับคัดเลือกพร้อมเค้าโครงผลงาน และแจ้งให้ส่งผลงานเข้ารับการประเมิน คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล ตรวจสอบข้อมูล และรายงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม มีผู้ทักท้วง ผู้ได้รับคัดเลือก ส่งผลงาน ไม่มีมูล มีมูล คณะกรรมการประเมินผลงาน อ่านและพิจารณาผลงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สอบผู้ทักท้วง ปลัดกระทรวงวัฒนธรรมดำเนินการตาม ว5/2542 ผ่าน ไม่ผ่าน จัดทำคำสั่งเลื่อนระดับ แจ้งให้ทราบ
ขั้นตอนดำเนินการ กรณี การคัดเลือกเพื่อเข้ารับการประเมินผลงานเลื่อนขึ้นแต่งตั้งในตำแหน่งระดับชำนาญการพิเศษ คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือก กลุ่มบริหารงานบุคคลสำรวจข้อมูลผู้มีคุณสมบัติ / ผู้บังคับบัญชาระดับสำนักประเมินคุณลักษณะ / แจ้งผู้มีคุณสมบัติส่งเอกสารประกอบการคัดเลือก คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล พิจารณาคัดเลือกผู้ที่จะเข้ารับการประเมินผลงาน รายงานผลการพิจารณาเสนอปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เห็นชอบ ประกาศรายชื่อผู้ได้รับคัดเลือก พร้อมเค้าโครงผลงาน และแจ้งให้ส่งผลงานเข้ารับการประเมิน คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล ตรวจสอบข้อมูล และรายงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม มีผู้ทักท้วง ผู้ได้รับคัดเลือก ส่งผลงาน ไม่มีมูล มีมูล จัดทำคำสั่งเลื่อนระดับ ผ่าน คณะกรรมการประเมินผลงาน อ่านและพิจารณาผลงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สอบผู้ทักท้วง ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ดำเนินการตาม ว5/2542 แจ้งให้ทราบ ไม่ผ่าน
ขั้นตอนดำเนินการ • ผู้ที่ดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ในระดับเดียวกันกับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง และจัดอยู่ ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน ตามที่ ก.พ. มีมติเห็นชอบ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล • ผู้ไม่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ คณะกรรมการคัดเลือกบุคคล พิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล กรณี การคัดเลือกเข้ารับการประเมินผลงาน เพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ในตำแหน่งระดับที่ไม่สูงกว่าเดิม 3. ผู้ที่ดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ในระดับเดียวกันกับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง แต่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน หรือเป็นพนักงาน หรือข้าราชการตามกฎหมายอื่น ซึ่งดำรงหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการในระดับเดียวกัน จากหน่วยงานอื่นมาแล้ว
การเสนอผลงานเข้ารับการประเมินการเสนอผลงานเข้ารับการประเมิน เมื่อสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศรายชื่อให้เป็นผู้ได้รับคัดเลือกให้ส่งผลงานเข้ารับการประเมินแล้ว ผู้ได้รับคัดเลือกต้องส่งผลงานเข้ารับ การประเมินตามหัวข้อเรื่องที่เสนอไว้ในขั้นตอนการคัดเลือกบุคคล ประกอบด้วย 1. ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมาเป็นผลสำเร็จของงาน ที่เกิดจากการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่งที่จะ ประเมินแต่งตั้ง ในรูปแบบของการสรุปวิเคราะห์ถึงผลที่เกิดขึ้น ระบุผลสำเร็จของงาน ประโยชน์ที่เกิดจากผลงานนั้น หรือการนำผลงานไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหา หรือใช้ เสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน มิใช่เป็นเพียงการรวบรวมผลงานย้อนหลัง 2. ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงาน ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรเป็นแนวคิด วิสัยทัศน์หรือแผนงานที่จะทำในอนาคต เพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะได้รับแต่งตั้ง และสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน รวมทั้งควรเป็นแนวคิดหรือแผนงานที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
การพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลเรื่องการนับระยะเวลาขั้นต่ำการพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลเรื่องการนับระยะเวลาขั้นต่ำ (คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเป็นผู้พิจารณา)
คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับแต่งตั้งคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับแต่งตั้ง 1. เป็นผู้ผ่านการประเมินบุคคล 2. มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่กำหนดไว้ ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 3. มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และหรือคุณวุฒิเพิ่มเติมครบถ้วน ตามที่ ก.พ. กำหนด 4. มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงาน ที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคลและระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง
สรุปคุณสมบัติ เงื่อนไข 1. ถ้ามีระยะเวลาขั้นต่ำไม่ครบ ต้อง แสดงลักษณะงาน เพื่อขอนับระยะเวลาขั้นต่ำ 2. ถ้ามีระยะเวลาดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง น้อยกว่า 1 ปี ต้อง มีสำเนาคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งด้วย 3. ถ้ามีระยะเวลาดำรงระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้งไม่ครบ ถือเป็น ผู้ขาดคุณสมบัติ 4. การตรวจสอบคุณสมบัติ ดูจาก ประวัติการรับราชการตาม ก.พ. 7 และใช้หลักเกณฑ์เช่นเดียวกันในทุกๆ ตำแหน่ง
ตัวอย่าง นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ (จบปริญญาตรี) สมัครคัดเลือกตำแหน่ง นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการพิเศษ
แบบฟอร์มการจัดทำรายละเอียดเพื่อขอนับระยะเวลาขั้นต่ำแบบฟอร์มการจัดทำรายละเอียดเพื่อขอนับระยะเวลาขั้นต่ำ คำชี้แจงเพิ่มเติมรายละเอียดประกอบการพิจารณาคุณสมบัติเกี่ยวกับระยะเวลาขั้นต่ำ เพื่อขอประเมินแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง........................................................................... 1. ชื่อผู้ขอรับการประเมิน......................................................................................... 2. การศึกษา........................................................................................................... 3. ดำรงตำแหน่งและเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง รวม...............ปี .................เดือน 4. คำชี้แจงเกี่ยวกับการดำรงตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับสายงานที่จะแต่งตั้ง (สายงาน)..........................................จำนวน..........ปี ............เดือน ดังนี้ ขอรับรองว่าข้อความดังกล่าวข้างต้นเป็นความจริง (ลงชื่อ).......................................... ผู้รับการประเมิน (.......................................) วันที่..........เดือน.................พ.ศ............. คำรับรองของผู้บังคับบัญชา (ผู้บังคับบัญชาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงาน) ขอรับรองว่า.................................. ได้ปฏิบัติงานดังกล่าวข้างต้นจริง (ลงชื่อ)......................................... (......................................) ตำแหน่ง....................................... วันที่.........เดือน...................พ.ศ..............
การจัดทำรายละเอียดเพื่อขอนับระยะเวลาขั้นต่ำ พร้อมคำอธิบาย
แบบฟอร์มการจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือกแบบฟอร์มการจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือก
แบบฟอร์มการจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือกแบบฟอร์มการจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือก
แบบฟอร์มการจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือกแบบฟอร์มการจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือก
การจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือก พร้อมคำอธิบาย
แบบฟอร์มรูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการแบบฟอร์มรูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการ ๑. ชื่อผลงาน...................................................................................................................................... ๒. ระยะเวลาดำเนินการ...................................................................................................................... ๓. ความรู้ทางวิชาการหรือแนวความคิดที่ใช้ในการดำเนินการ ๑................................................................................................................................................... ๒.................................................................................................................................................. ๔. สาระและขั้นตอนการดำเนินการ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ๕. ผู้ร่วมดำเนินการ (ถ้ามี) ๑. .......................................... สัดส่วนของผลงาน.......................... ๒. .......................................... สัดส่วนของผลงาน.......................... ๖. ส่วนของงานที่ผู้เสนอเป็นผู้ปฏิบัติ (ระบุรายละเอียดของผลงานพร้อมทั้งสัดส่วนของผลงาน) ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ๗. ผลสำเร็จของงาน (เชิงปริมาณ / คุณภาพ) ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ๘. การนำไปใช้ประโยชน์ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ๙. ความยุ่งยากในการดำเนินการ / ปัญหา / อุปสรรค ...................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ๑๐. ข้อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
แบบฟอร์มรูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการแบบฟอร์มรูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการ ขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ........................................................ (........................................................) ผู้เสนอผลงาน .............../......................../................ ขอรับรองว่าสัดส่วนหรือลักษณะงานในการดำเนินการของผู้เสนอข้างต้นถูกต้อง ตรงกับความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ................................................ ลงชื่อ................................................ (...............................................) (...............................................) ผู้ร่วมดำเนินการ ผู้ร่วมดำเนินการ .........../..................../............. .........../..................../............. ลงชื่อ................................................ ลงชื่อ................................................ (...............................................) (...............................................) ผู้ร่วมดำเนินการ ผู้ร่วมดำเนินการ .........../..................../............. .........../..................../............. ได้ตรวจสอบแล้วขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นถูกต้องตรงกับความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ................................................ ลงชื่อ................................................ (...............................................) (...............................................) ตำแหน่ง.......................................... ผู้อำนวยการสำนัก / กอง......................... .........../..................../............. .........../..................../............. (ผู้บังคับบัญชาที่ควบคุมดูแลการดำเนินการ) หมายเหตุ หากผลงานมีลักษณะเฉพาะ เช่น แผ่นพับ หนังสือ แถบบันทึกเสียง ฯลฯ ผู้เสนอผลงานอาจส่งผลงานจริงประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการก็ได้
รูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการ พร้อมคำอธิบาย
รูปแบบการเขียนผลงานทางวิชาการ พร้อมคำอธิบาย
แบบฟอร์มรูปแบบการเขียนข้อเสนอแนวคิดฯแบบฟอร์มรูปแบบการเขียนข้อเสนอแนวคิดฯ ข้อเสนอแนวความคิด / วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ของ ....................................................................................................... เพื่อประกอบการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง...........................................................ตำแหน่งเลขที่........... สำนัก / กอง ............................................................................................ เรื่อง ......................................................................................................................... หลักการและเหตุผล........................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. บทวิเคราะห์ / แนวความคิด / ข้อเสนอ ........................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ผลที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ตัวชี้วัดความสำเร็จ............................................................................................ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................ (........................................................) ผู้เสนอแนวคิด .............../......................../................
รูปแบบการเขียนข้อเสนอแนวคิดฯ พร้อมคำอธิบาย
ข้อบกพร่องที่พบ จากการดำเนินการที่ผ่านมา พบว่ามีข้อบกพร่องในการจัดทำเอกสาร เพื่อขอรับการคัดเลือกและขอรับการประเมิน ดังนี้ 1. การจัดทำเอกสารเพื่อขอนับระยะเวลาขั้นต่ำ 1.1 ระบุระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นที่ต้องการนำมานับรวม คลาดเคลื่อนไม่ตรงกับประวัติการรับราชการใน ก.พ. 7 1.2 แสดงลักษณะงานปฏิบัติที่ไม่อาจนำมาพิจารณาให้เป็นลักษณะงาน ที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 1.3 ไม่มีคำรับรองของผู้บังคับบัญชาจากหน่วยงาน/สังกัดเดิม 2. การจัดทำเอกสารเพื่อขอรับการคัดเลือก 2.1 การเสนอเค้าโครงผลงาน/ข้อเสนอแนวคิด บางรายมีรายละเอียดไม่ชัดเจน แต่บางรายมีรายละเอียดมากเกินไป 2.2 ใช้แบบฟอร์มไม่ถูกต้อง ระหว่างแบบการเสนอผลงาน และแบบแสดงข้อเสนอแนวคิดฯ 2.3 ไม่มีการลงนามรับรองของผู้ขอรับการคัดเลือก
ข้อบกพร่องที่พบ 3. การจัดทำเอกสารเพื่อขอรับการประเมิน 3.1 ไม่จัดทำตามแบบฟอร์มที่กำหนด และมีหัวข้อไม่ครบถ้วน 3.2 การนำเสนอเนื้อหาสาระของผลงาน ขาดการจัดลำดับเนื้อหา และขาดความสอดคล้องเชื่อมโยง 3.3 ไม่ระบุแหล่งที่มาของข้อมูลที่ใช้ในการอ้างอิง 3.4 ไม่มีการลงนามรับรองจากผู้อำนวยการกลุ่ม 3.5 การจัดทำบรรณานุกรมไม่ถูกต้องตามหลักการอ้างอิง 4. การจัดทำเอกสารสมัครเข้ารับการคัดเลือกในตำแหน่งระดับชำนาญการพิเศษ 4.1 มุมขวามือด้านบนของใบสมัคร ไม่ระบุชื่อหน่วยงาน เลขรับ วันที่และเวลารับ หรือระบุ แต่ไม่ครบถ้วน 4.2 ผู้สมัครระบุประวัติการรับราชการไม่ตรงกับสำเนา ก.พ. 7 4.3 ผู้สมัครระบุคุณวุฒิ หรือวัน เดือน ปี ที่สำเร็จการศึกษา ไม่ตรงกับสำเนาปริญญาบัตร 4.4 แนบเอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน เช่น ไม่มีรายละเอียดเพื่อขอนับระยะเวลาขั้นต่ำ หรือไม่มีสำเนาคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ 4.5 จัดเรียงเอกสารไม่ตรงตามที่ประกาศรับสมัครฯ กำหนด หรือเรียงกลับด้าน
การเขียนรายการอ้างอิงการเขียนรายการอ้างอิง การเขียนรายการอ้างอิง ให้ใช้หลักเกณฑ์การเขียนรายการอ้างอิงวิธีเดียวกันโดยตลอดตามประเภทของเอกสาร เช่น หนังสือ บทความในหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สารานุกรม วิทยานิพนธ์ จุลสาร เอกสารอัดสำเนา การสัมภาษณ์ ฯลฯ ผู้เขียนสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ขอแนะนำการเขียนรายการอ้างอิง 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ปีพิมพ์อยู่ท้ายรายการ ก่อนเลขหน้า (ถ้ามี) แบบที่ 2 ปีพิมพ์ ตามหลังชื่อผู้แต่ง สำหรับรายละเอียดการเขียนรายการอ้างอิงตามประเภทของเอกสารแต่ละแบบมีดังนี้ 1. หนังสือ แบบที่ 1 ผู้แต่ง.\\ ชื่อหนังสือ.\\ เล่มที่หรือจำนวนเล่ม(ถ้ามี),\\ ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี).\\ ชื่อชุดหนังสือและลำดับที่ (ถ้ามี).\\ สถานที่พิมพ์: \ สำนักพิมพ์,\ ปีพิมพ์. แบบที่ 2 ผู้แต่ง.\\ ปีพิมพ์.\\ ชื่อหนังสือ.\\ เล่มที่หรือจำนวนเล่ม(ถ้ามี).\\ ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี),\\ ชื่อชุดหนังสือและลำดับที่ (ถ้ามี).\\ สถานที่พิมพ์:\ สำนักพิมพ์. สำหรับปีพิมพ์อาจใช้อยู่ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ก็ได้ ผู้เขียนสามารถเลือกใช้แบบที่ 1 หรือแบบที่ 2 ก็ได้ แต่ให้ใช้แบบเดียวกันโดยตลอด ข้อมูลที่จำเป็นต้องมี ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีพิมพ์ 2. บทความในหนังสือ แบบที่ 1 ชื่อผู้เขียนบทความ.\\ ชื่อบทความ.\\ ใน\ ชื่อบรรณาธิการ(ถ้ามี),\ชื่อเรื่อง,\ เลขหน้า.\\ สถานที่พิมพ์:\ สำนักพิมพ์.\ ปีพิมพ์. แบบที่ 2 ชื่อผู้เขียนบทความ.\\ ปีพิมพ์.\\ ชื่อบทความ.\\ ใน\ ชื่อบรรณาธิการ(ถ้ามี),\ ชื่อเรื่อง,\ เลขหน้า.\\ สถานที่พิมพ์:\ สำนักพิมพ์. 3. บทความในวารสาร แบบที่ 1 ผู้เขียนบทความ.\\ ชื่อบทความ.\\ชื่อวารสาร\ ปีที่หรือเล่มที่\ (เดือน ปี):\ เลขหน้า. แบบที่ 2 ผู้เขียนบทความ.\\ ปีพิมพ์.\\ ชื่อบทความ.\\ชื่อวารสาร\ ปีที่หรือเล่มที่:\ เลขหน้า.
การเขียนรายการอ้างอิงการเขียนรายการอ้างอิง 4. จุลสาร เอกสารอัดสำเนา และเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์อื่นๆ การเขียนรายการอ้างอิงใช้แบบเดียวกับหนังสือ และให้วงเล็บคำว่าอัดสำเนา หรือ (Mimeographed), (พิมพ์ดีด) หรือ (Typewritten), (เอกสารไม่ตีพิมพ์) หรือ (Unpublished Manuscript) แล้วแต่กรณี และแล้วแต่ ภาษาของสิ่งที่อ้างอิง ว่าเป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ โดยพิมพ์อยู่ในวงเล็บไว้ท้ายสุดของรายการอ้างอิง ตัวอย่าง แรงงาน, กรม. แนะแนวอาชีพบรรณารักษ์. กรุงเทพมหานคร: กรมแรงงาน, 2517. (อัดสำเนา) 5. การสัมภาษณ์ ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์.\\ ตำแหน่ง\ (ถ้ามี).\\ สัมภาษณ์,\ วัน\ เดือน\ ปี. 6. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบออนไลน์ เป็นระบบการสืบค้นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ทางไกลผ่านเครือข่าย แบบที่ 1 ผู้เขียน.// ชื่อเรื่อง./ [ประเภทของสื่อ]. เข้าถึงได้จาก// แหล่งข้อมูล. วัน เดือน ปี ที่ค้น. แบบที่ 2 ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง. วันเดือนปีที่เข้าถึงข้อมูล. แหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ การอ้างอิงจากฐานข้อมูลออนไลน์ให้ใช้รูปแบบเดียวกับสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทนั้นๆ โดยเพิ่มวันที่สืบค้นและแหล่งที่มาของข้อมูล การเรียงลำดับรายการอ้างอิง การอ้างอิงให้เรียงรายการอ้างอิงเอกสารและแหล่งต่างๆโดยแยก ภาษาไทย ให้จบไปก่อน ต่อด้วยภาษาอังกฤษ โดยเรียงตามลำดับอักษรตัวแรก ที่ปรากฏตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป เอกสารที่มีผู้แต่งเป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามอักษรตัวแรกของ ชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม การระบุชื่อสถาบันให้ ระบุชื่อหน่วยงานใหญ่ก่อนหน่วยงานย่อย
เอกสารการบรรยาย และแบบฟอร์มต่างๆ สามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซด์ของ กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักบริหารกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม (www.m-culture.go.th/personnel/) หรือ โทร. 0 2422 8895 ขอบคุณผู้ที่ให้ความสนใจทุกท่านค่ะ