520 likes | 775 Views
27 มิถุนายน 2556 www.rajanukul.com. แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น. สถานการณ์ด้านพัฒนาการเด็ก. จากกราฟ พบว่า มี เด็กปฐมวัย พัฒนาการไม่สมวัย ร้อยละ 30 โดย - พัฒนาการบกพร่อง (Delayed Development ) ร้อยละ 20 เสี่ยง ต่อปัญหาพฤติกรรมอารมณ์ / IQ
E N D
27 มิถุนายน 2556www.rajanukul.com แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
สถานการณ์ด้านพัฒนาการเด็กสถานการณ์ด้านพัฒนาการเด็ก • จากกราฟ พบว่า มีเด็กปฐมวัยพัฒนาการไม่สมวัย ร้อยละ 30 โดย • - พัฒนาการบกพร่อง (Delayed Development) ร้อยละ 20 เสี่ยง • ต่อปัญหาพฤติกรรมอารมณ์/ IQ • - เป็นโรคบกพร่องทางสติปัญญาและการเรียนรู้ร้อยละ 10 • ที่มา : กรมอนามัย,2553
สถานการณ์ปัญหาเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาเด็กไทย ระดับความฉลาดทางอารมณ์ * สำรวจโดย กรมสุขภาพจิต
ด้านสภาพแวดล้อมเด็กปฐมวัยด้านสภาพแวดล้อมเด็กปฐมวัย • เด็กอยู่ในความดูแลของพ่อแม่ลดลง ส่วนใหญ่จะถูกส่งเข้าสู่ศูนย์เด็กเล็กตั้งแต่อายุยังน้อย • เด็กอายุ 1-2 ปี ถูกส่งไปโรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กร้อยละ 12 • เด็กอายุได้ 3-5 ปี ถูกส่งไปโรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กร้อยละ 76.3 • เด็กอายุ 1-5 ปี ดูทีวีมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน * สำรวจโดย กรมอนามัย ปี 2553
สถานการณ์ด้านระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทยสถานการณ์ด้านระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย จังหวัดที่ IQ > 100 18 จังหวัด(24%) จังหวัดที่ IQ = 100 20 จังหวัด(26%) จังหวัดที่ IQ < 100 38 จังหวัด(50%)
สัดส่วนจังหวัดที่มี IQ สูง/ปกติ/ต่ำ ทั่วประเทศ กลาง 7 จังหวัด อีสาน 2 จังหวัด เหนือ 9 จังหวัด ใต้ 2 จังหวัด กลาง 7 จังหวัด อีสาน 17 จังหวัด เหนือ 3 จังหวัด ใต้ 11 จังหวัด IQ ต่ำกว่าปกติ IQ สูงกว่าปกติ IQ ปกติ
- - - - - การกระจายปกติ IQ > 100 IQ = 100 IQ < 100 • จากกราฟ พบว่า ระดับสติปัญญา(IQ)เฉลี่ย 98.59 (ค่าปกติ=100) • ร้อยละ 48.5 IQ ต่ำกว่าค่าปกติ • ร้อยละ 6.5 เป็นกลุ่มสติปัญญาบกพร่อง(IDD/MR) • (IQ น้อยกว่า 70 / มาตรฐานสากล กำหนดไม่เกินร้อยละ 2) • ที่มา : กรมสุขภาพจิต 2554
สถานการณ์ EQ กลุ่มอายุ 6-11 ปี T* 50-100 ปกติ (28%) พัฒนาต่อเนื่อง T** 40-49(46%) ควรได้รับการพัฒนา T*** ต่ำกว่า 40 (26%) จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา
สถานการณ์ด้านการเข้าถึงบริการสถานการณ์ด้านการเข้าถึงบริการ * ข้อมูล ณ ปี 2553
สภาพปัญหาสุขภาพในวัยรุ่นสภาพปัญหาสุขภาพในวัยรุ่น • มีความรุนแรงของปัญหาสูง 2. มีผลกระทบเป็นวงกว้างต่อสุขภาพกาย-จิต-สังคม 3. ต้องการการแก้ไขจากหลายภาคส่วน ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่น ปัญหาเพศฯตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 13
สถานการณ์ ปัญหาเพศฯ ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ในวัยรุ่น
อัตราการตั้งครรภ์ต่อ1000ประชากรหญิงจำแนกกลุ่มอายุ ( 2553) อายุ 15-19 ปี =56.1 :1,000 คน
สถานการณ์ ปัญหายาเสพติด ในวัยรุ่น
ประมาณการผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทยประมาณการผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทย จากการสำรวจและประมาณการทางวิชาการ ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดในประเทศไทย มีประมาณ 1.2 ล้านคน คิดเป็นอัตราส่วน 19 : 1,000 ประชากรอัตราที่ยอมรับไม่เกิน 3 : 1,000
กลุ่มประชากรที่มีปัญหามากที่สุด อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 15-24 ปี (50%)
กลุ่มอาชีพเสี่ยงมาก อยู่ในกลุ่มอาชีพรับจ้าง และว่างงาน (62%)
สัดส่วนผู้เข้ารับการบำบัดจำแนกรายเก่า-ใหม่สัดส่วนผู้เข้ารับการบำบัดจำแนกรายเก่า-ใหม่ ปี 2549-2554
ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษายาเสพติด จำแนกตามระบบบำบัด ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2555 – 5 ม.ค. 2556 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน ศพส. ณ วันที่ 5 ม.ค. 2556
เครือข่ายบริการสุขภาพ 12 พวง พวง 1 พวง (1) ได้แก่ เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, ลำปาง, ลำพูน, เชียงราย, น่าน, พะเยา, แพร่ พวง (2) ได้แก่ ตาก, พิษณุโลก, เพชรบูรณ์, สุโขทัย, อุตรดิตถ์ พวง (3) ได้แก่ กำแพงเพชร, พิจิตร, นครสวรรค์, อุทัยธานี, ชัยนาท พวง (4) ได้แก่ นนทบุรี, ปทุมธานี, พระนครศรีอยุธยา, สระบุรี, ลพบุรี, สิงห์บุรี, อ่างทอง, นครนายก พวง (5) ได้แก่ กาญจนบุรี, นครปฐม, สุพรรณบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, ประจวบคีรีขันธ์, พวง (6) ได้แก่ จันทบุรี, ระยอง, ชลบุรี, ตราด, ปราจีนบุรี, สระแก้ว, สมุทรปราการ, ฉะเชิงเทรา พวง (7) ได้แก่ กาฬสินธุ์, ขอนแก่น, มหาสารคาม, ร้อยเอ็ด พวง (8) ได้แก่ หนองคาย, หนองบัวลำภู, อุดรธานี, บึงกาฬ, เลย, นครพนม, สกลนคร พวง (9) ได้แก่ ชัยภูมิ, นครราชสีมา, บุรีรัมย์, สุรินทร์ พวง (10) ได้แก่ มุกดาหาร, ยโสธร, ศรีสะเกษ, อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ พวง (11) ได้แก่ สุราษฎร์ธานี, ชุมพร, นครศรีธรรมราช, พังงา, ภูเก็ต, ระนอง, กระบี่ พวง (12) ได้แก่ ตรัง, นราธิวาส, ปัตตานี, พัทลุง, ยะลา, สงขลา, สตูล พวง 8 พวง 2 พวง 7 พวง 3 พวง 10 พวง 9 พวง 4 พวง 5 พวง 6 พวง 11 พวง 12
เขตพื้นที่บริการ ภาคเหนือ 3 เขต(1,2,3)สถาบันพัฒนาการฯ(สวนปรุง ร.พ.จิตเวชนครสวรรค์) ภาคอีสาน 4 เขต (7, 8, 9, 10) ร.พ.ยุวฯและสถาบันพัฒนาการเด็กภาคตะวันออกเฉียงหนือ(ร.พ.จิตเวช โคราช ขอนแก่น พระศรีฯ นครพนมและเลย) • ภาคกลาง • เขต 5 สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น (สถาบันกัลยาณ์) • เขต 4 สถาบันราชานุกูล (ศรีธัญญา) • เขต 6ร.พ.ยุวฯ (จิตเวชสระแก้ว) • กทม. สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น , สถาบันราชานุกูล (สมเด็จฯ ) ภาคใต้ 2 เขต (11, 12) สถาบัน ราชานุกูล(ร.พ.สวนสราญรมย์, จิตเวชสงขลา)
ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 1 ปี • ร้อยละ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) • ร้อยละ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) • ร้อยละ ของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก(ไม่น้อยกว่า 70) • ร้อยละ ของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ(Psychosocial Clinic) เชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลีนิกวัยรุ่นฯลฯ (ไม่น้อยกว่า 70) เป้าหมายระยะ 1-2 ปี • ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย(ไม่น้อยกว่า 85) เป้าหมายระยะ 3-5 ปี • เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100)
ตัวชี้วัด (ระดับกรมฯ ในการขับเคลื่อนปี 56) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนา รพช.ในพื้นที่ให้มีบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กใน Well – baby Clinic ตามเกณฑ์ที่กำหนด • ระดับความสำเร็จในการพัฒนา รพศ./รพท. ในพื้นที่ให้มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่นตามเกณฑ์กำหนด(ระดับ 3 ทุกด้าน) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนาโรงพยาบาลชุมชนในพื้นที่ให้มีการจัดบริการสุขภาพจิตและบริการให้คำปรึกษาใน Psychosocial clinic(ร้อยละ 50 ของรพช.มีการจัดบริการให้คำปรึกษาใน Psychosocial Clinic)
กลไกการดำเนินงานฯเด็กปฐมวัยกลไกการดำเนินงานฯเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานด้านสุขภาพจิตฯเด็กปฐมวัยการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตฯเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานด้านสุขภาพจิตฯเด็กปฐมวัยการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตฯเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานด้านสุขภาพจิตฯเด็กปฐมวัยการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตฯเด็กปฐมวัย
กลไกการดำเนินงานฯเด็กวัยเรียนวัยรุ่นกลไกการดำเนินงานฯเด็กวัยเรียนวัยรุ่น
แนวทางการดำเนินงานคู่เครือข่ายระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเชื่อมโยงระบบบริการสาธารณสุขแนวทางการดำเนินงานคู่เครือข่ายระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเชื่อมโยงระบบบริการสาธารณสุข
กลไกการดำเนินงานคู่เครือข่ายระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเชื่อมโยงระบบบริการสาธารณสุขกลไกการดำเนินงานคู่เครือข่ายระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเชื่อมโยงระบบบริการสาธารณสุข สาธารณสุข ผู้ปกครอง สถานศึกษา ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือรู้จักนักเรียนรายบุคคล รู้จักนักเรียนรายบุคคล 1 ให้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล 2 คัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือคัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/ร่วมกิจกรรม ส่งเสริม ป้องกัน และช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ครูที่ปรึกษา ปกติ เสี่ยง/มีปัญหา ร่วมส่งเสริมพัฒนาและดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3 4 ส่งเสริม ป้องกัน/ช่วยเหลือ ให้การปรึกษาและร่วมประชุมปรึกษารายกรณี ในกรณีปัญหายุ่งยากซับซ้อน อาการ/พฤติกรรม 5 ส่งต่อ รับการส่งต่อ และบำบัดรักษา ติดตามประเมินผล สรุปรายงาน
ผู้ปกครอง ให้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ร่วมส่งเสริมพัฒนาและดูแลช่วยเหลือนักเรียน ติดตาม ประเมินผล สรุปรายงาน
สถานศึกษา รู้จักนักเรียนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง/มีปัญหา ส่งเสริม ป้องกัน/ช่วยเหลือ อาการ/พฤติกรรม ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น ติดตาม ประเมินผล สรุปรายงาน ส่งต่อตามระบบสาธารณสุข
สถานบริการสาธารณสุข ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือรู้จักนักเรียนรายบุคคล ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือ คัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/ร่วมกิจกรรมส่งเสริม ป้องกัน และช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ครูที่ปรึกษา ให้การปรึกษาและร่วมประชุมปรึกษารายกรณี ในกรณีปัญหายุ่งยากซับซ้อน รับส่งต่อ และบำบัดรักษา ในกรณียุ่งยากซับซ้อน ติดตาม ประเมินผล สรุปรายงาน
การดำเนินงานสุขภาพจิตฯวัยรุ่นการดำเนินงานสุขภาพจิตฯวัยรุ่น ในระบบบริการสาธารณสุข • ระบบคู่เครือข่ายบริการสุขภาพจิตและให้คำปรึกษาวัยรุ่นในpsychosocial clinic) เชื่อมโยงกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน • 2. ศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น To be Number One
กลไกการดำเนินงานศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ ( psychosocial clinic) GOAL KSF กิจกรรม KPI - รพช.ขึ้นไปมีการจัดบริการให้คำปรึกษาใน Psychosocial Clinic -วัยรุ่นได้รับการดูแลช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาสุขภาพจิต - เชื่อมโยงระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน -พัฒนาระบบ บริการ เพิ่มการ เข้าถึงบริการ สุขภาพของวัยรุ่น -พัฒนาศักยภาพ บุคลากรคู่ เครือข่าย -พัฒนาระบบ ส่งต่อและการ ดำเนินงานใน พื้นที่ รร./อปท./ สถานบริการสธ. -ร้อยละ 50 ของ รพช.มีการจัด บริการให้ คำปรึกษาใน Psychosocial Clinic - ร่วมกับพื้นที่พัฒนาศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพในรพช.ขึ้นไป -พัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่าย -สนับสนุนองค์ความรู้ /เครื่องมือในการดำเนินงานในพื้นที่ -สร้างการมีว่วนร่วมในการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน - แลกเปลี่ยนเรียนรู้และประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ • สร้างความพร้อมเพื่อสนับสนุนพื้นที่ • พัฒนาองค์ความรู้ /เครื่องมือ /สื่อเผยแพร่ ฯ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ • ประสานบูรณาการงานวัยรุ่นกับหน่วยที่เกี่ยวข้อง • นิเทศ ติดตาม ประเมินผล M&E-ระบบข้อมูลการดูแลช่วยเหลือและส่งต่อ -Best practice ที่ได้จากการถอดความรู้ 46
เชื่อมต่อระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5 ขั้นตอน กับ บูรณาการคลินิกวัยรุ่น ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดบริการกายจิตสังคม คลินิกวัยรุ่น ระบบส่งต่อ โครงสร้าง อัตรากำลัง พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา โรงเรียน Friend Corner เครือข่ายผู้ปกครอง 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง(SDQ) YC 3.ส่งเสริมพัฒนา 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ สาธารณสุข ศึกษาธิการ
มาตรการแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นมาตรการแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ปกติ 100% 5 ล้านคน 25% (ช+ญ) 10% ญ ปัญหา2.5แสนคน
แผนผังการบริการในศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ลงทะเบียน ประเมินผู้รับบริการ สมาชิกรับบริการ (ตามความประสงค์สมาชิก และ/หรือ ตามดุลยพินิจผู้ประเมิน) บริการให้คำปรึกษา Walk in/Phone in บริการฝึกแก้ปัญหาพัฒนาEQ เรียนรู้ด้วยตนเอง / กิจกรรมกลุ่ม บริการจัดกิจกรรมสร้างสุข การส่งต่อ(Refer) บันทึกและสรุปรายงาน อาจารย์ที่ปรึกษา/ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวบรวมเป็นผลงานของชมรม TO BE NUMBER ONE
การดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่นในระบบสาธารณสุขการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่นในระบบสาธารณสุข • แนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ • สุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับรพศ. รพท. • รพชและรพ.สต. • แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญา ออทิสติก • สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ • สำหรับเครือข่ายระบบสาธารณสุข • แนวทางการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ • ส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัยแรกเกิด – 5ปี • ที่มีปัญหาพัฒนาการ สำหรับ รพศ. รพท. • รพช. และรพ.สต.