120 likes | 355 Views
สถานการณ์จังหวัดสระบุรี ปี 2555. ที่มา : ร 36. แนวโน้มผู้สัมผัสโรคที่มารับการดูแล รักษา ลดลง จำนวนผู้สัมผัสโรคในเขตจังหวัดสระบุรี ปี 2553-2555. ปี 2554 ผู้สัมผัสโรค = 3,195 คน ฉีดวัคซีนป้องกันโรค = 3,184คน ไม่ฉีดวัคซีน = 11 คน ฉีด ซีรั่ม RIG = 336 คน.
E N D
สถานการณ์จังหวัดสระบุรีปี 2555 ที่มา : ร 36 แนวโน้มผู้สัมผัสโรคที่มารับการดูแล รักษา ลดลง จำนวนผู้สัมผัสโรคในเขตจังหวัดสระบุรี ปี 2553-2555
ปี 2554 ผู้สัมผัสโรค =3,195 คน ฉีดวัคซีนป้องกันโรค = 3,184คน ไม่ฉีดวัคซีน = 11 คน ฉีด ซีรั่ม RIG = 336 คน สถานการณ์จังหวัดสระบุรีปี 2555 ปี 2555 • ผู้สัมผัสโรค =1,739 คน • ฉีดวัคซีนป้องกันโรค = 1,735 คน • ไม่ฉีดวัคซีน = 4 คน • ฉีด ซีรั่ม RIG = 457คน ที่มา : ร 36
สถานการณ์จังหวัดสระบุรีปี 2555 • แนวโน้มหน่วยบริการพบอัตราการใช้วัคซีนเกินเพดาน> 60% • การจัดสรรสนับสนุนวัคซีนจาก สปสช. ไม่เพียงพอ ร้อยละ 41.7 ของโรงพยาบาลทั้งหมด ต้องจัดซื้อเองเพิ่มเติม • ส่วนใหญ่ หน่วยบริการใช้วิธีฉีดวัคซีนแบบ IM > 50% • ส่วนใหญ่หน่วยบริการบันทึกข้อมูล โปรแกรม ร 36 ไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากโปรแกรมไม่เสถียร • รูปแบบการให้บริการในโรงพยาบาลมีความแตกต่างกัน
สถิติจำนวนประชากรสุนัขแมวและการขึ้นทะเบียนสถิติจำนวนประชากรสุนัขแมวและการขึ้นทะเบียน
เปรียบเทียบงบ/ความต้องการวัคซีน จังหวัดสระบุรี ที่มา : สปสช. เขต 4 สระบุรี
สถิติการส่งตัวอย่างตรวจโรคพิษสุนัขบ้าสถิติการส่งตัวอย่างตรวจโรคพิษสุนัขบ้า
Road Map การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดสระบุรี
Road Map การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดสระบุรี ปี 2558 ท้องถิ่นทุกแห่งเป็นพื้นที่ระดับ B ไม่พบผู้เสียชีวิต 2 ปี ย้อนหลัง มีการตรวจวินิจฉัยผู้สงสัยเป็น Rabies พบ Rabies ในสัตว์ 2 ปีย้อนหลัง มีการกักสุนัขที่กัดคนเพื่อดูอาการ ฉีดวัคซีนสุนัขได้ 80% ขึ้นทะเบียนสุนัขได้ 80% ปี 2560 ท้องถิ่นทุกแห่งเป็นพื้นที่ระดับ A ไม่พบผู้เสียชีวิต 4 ปี ย้อนหลัง มีการตรวจวินิจฉัยผู้สงสัยเป็น Rabies ไม่พบ Rabies ในสัตว์ 2 ปีย้อนหลัง มีการกักสุนัขที่กัดคนเพื่อดูอาการ ฉีดวัคซีนสุนัขได้ 80% ขึ้นทะเบียนสุนัขได้ 80% ปี 2563 จังหวัดสระบุรีปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ไม่พบผู้เสียชีวิต 6 ปี ย้อนหลัง มีการตรวจวินิจฉัยผู้สงสัยเป็น Rabies ไม่พบ Rabies ในสัตว์ 4ปีย้อนหลัง มีการสุ่มเก็บตัวอย่างสัตว์ตรวจวินิจฉัยร้อยละ 0.01 ของจำนวนสัตว์ มีการกักสุนัขที่กัดคนเพื่อดูอาการ ฉีดวัคซีนสุนัขได้ 100% ขึ้นทะเบียนสุนัขได้ 100% ไม่มีสุนัขจรจัดในที่สาธารณะ มีระบบการเฝ้าระวังการเคลื่อนย้ายสุนัขเข้า-ออกในพื้นที่
แนวทางการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าแนวทางการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า • ประสานงานการควบคุมโรคในจังหวัดระหว่างหน่วยงาน - ปศุสัตว์จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกันประเมินและจัดระดับพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัขแมวที่อายุ 3 เดือนขึ้นไปให้ครอบคลุม 80% ของพื้นที่ - อปท. สนับสนุนงบประมาณ - สำรวจประชากรสุนัขแมวอย่างละเอียดและต่อเนื่อง และบันทึกการทำวัคซีนอย่างต่อเนื่อง
แนวทางการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าแนวทางการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า 3. ควบคุมประชากรสุนัข - ออกระเบียบเกี่ยวกับการดูแลสัตว์เลี้ยง - มีมาตรการลดประชากรสุนัขที่ไม่มีเจ้าของ - ฉีดยาคุมกำเนิดและทำหมันสุนัข - ทำทะเบียนผู้เลี้ยงหรือครอบครองสุนัขและปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ - สร้างจิตสำนึกให้แก่ผู้เลี้ยงสุนัข
แนวทางการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าแนวทางการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า 4. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชนเพื่อให้ตระหนักถึงอันตรายจากสัตว์ที่ตายไม่ทราบสาเหตุ - การส่งหัวสัตว์ที่สงสัยตรวจหาโรคพิษสุนัขบ้า - การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในคนที่ถูกสัตว์ที่สงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัด