290 likes | 435 Views
สรุปผลการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์สาธารณสุขจังหวัดลำปาง พฤษภาคม 2553. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. 1. ระดับทุติยภูมิ 1.1 การดำเนินงานเพื่อผ่านการประเมินมาตรฐาน HA - ส่วนใหญ่มีความก้าวหน้าในการพัฒนา มีแผนการ ผ่านการประเมินแต่ละระดับชัดเจน
E N D
สรุปผลการนิเทศติดตาม ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์สาธารณสุขจังหวัดลำปาง พฤษภาคม 2553
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 1. ระดับทุติยภูมิ 1.1 การดำเนินงานเพื่อผ่านการประเมินมาตรฐาน HA - ส่วนใหญ่มีความก้าวหน้าในการพัฒนา มีแผนการ ผ่านการประเมินแต่ละระดับชัดเจน คาดว่าจะขอรับการประเมินและผ่านการประเมิน ภายในสิ้นปีงบประมาณ 2553= เกาะคา เมืองปาน จะต้องขอรับการประเมินและผ่านการประเมิน ภายในสิ้นปีงบประมาณ 2553= งาว
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 1. ระดับทุติยภูมิ 1.1 การดำเนินงานเพื่อผ่านการประเมินมาตรฐาน HA คาดว่าจะขอรับการประเมินและผ่านการประเมิน (Reaccreditation) ภายในปีงบประมาณ 2554 = แม่เมาะ , แม่พริก จะสิ้นสุดการรับรองมาตรฐานในปี 2553 และขอรับการ ประเมินในปีงบประมาณ 2554= วังเหนือ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 1. ระดับทุติยภูมิ 1.1 การดำเนินงานเพื่อผ่านการประเมินมาตรฐาน HA - รพ.แจ้ห่ม ได้รับการรับรองมาตรฐานเมื่อปี 2552 - รพ.ที่เหลือ ยังอยู่บันไดขั้นที่ 2 ของการพัฒนา - รพ.ห้างฉัตรพบปัญหาการบริหารจัดการและ ความพร้อมของทีม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 1. ระดับทุติยภูมิ 1.2 รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว - รพ.ผ่านเกณฑ์สายใยรักฯระดับทอง = รพ.ลำปาง วังเหนือ ห้างฉัตร และเถิน - รพ.ผ่านเกณฑ์ HPH= รพ.ลำปาง แจ้ห่ม เมืองปาน - กิจกรรมส่วนใหญ่เน้นการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน บริการในสถานบริการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 1. ระดับทุติยภูมิ 1.2 รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว - พบปัญหาความต่อเนื่องของชมรมนมแม่ และ ปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ส่งผลต่อ การผ่านเกณฑ์รพ.สายใยรักฯระดับทอง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 2. ระดับปฐมภูมิ 2.1 การพัฒนามาตรฐาน PCU - ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน PCU (122จาก 155 แห่ง=ร้อยละ 78.71)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 2. ระดับปฐมภูมิ 2.1 การพัฒนามาตรฐาน PCU - มีความสับสนเกณฑ์มาตรฐานที่มีการประเมิน หลายเกณฑ์ - มีกิจกรรมการพัฒนามาตรฐาน PCU - การพัฒนาตามเกณฑ์ PCA เริ่มดำเนินการแล้ว (การชี้แจงทำความเข้าใจและการประเมินตนเอง)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 2. ระดับปฐมภูมิ 2.1 การพัฒนารพ.สต. - จนท.มีความเข้าใจแนวทางการพัฒนารพ.สต. ตามเกณฑ์ 22 ข้อ ประเด็นที่ยังไม่เข้าใจแนวทาง ปฏิบัติ ได้แก่ โรงเรียน อสม. ,บทบาทของทีม สหวิชาชีพในการสนับสนุนรพ.สต. - พบปัญหาการไม่ผ่านเกณฑ์ด้านอัตรากำลัง - ยังมีปัญหาการบริหารจัดการภายในเพื่อรองรับ ระบบ SKYPE
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 3. ระบบส่งต่อและ PHER 3.1 ระบบส่งต่อ – ไม่พบปัญหาในการดำเนินงาน 3.2PHER - ทุกอำเภอมีแผนรองรับอุบัติเหตุและ ไข้หวัดนก - ไม่มีแผนรองรับอุบัติภัยที่พบบ่อย ได้แก่ น้ำท่วมในอำเภอแม่ทะ แจ้ห่ม เมืองปาน - แผนรองรับปัญหามลพิษ ในอำเภอแม่เมาะ ไม่สามารถดำเนินการได้
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สิ่งที่ควรมีการพัฒนา - แผนแม่บทในการพัฒนาระบบบริการทุกระดับ ที่มี ความสอดคล้องเชื่อมโยงกันในแต่ละระดับ โดยมีทีมโรงพยาบาลให้การสนับสนุนด้านวิชาการ (โดยเฉพาะด้านการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน) และ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการพัฒนา คุณภาพบริการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สิ่งที่ควรมีการพัฒนา - การจัดเครือข่ายรพ.สต. ลดปัญหาด้านอัตรากำลัง - มุ่งเน้นการทำงานร่วมกับชุมชน ใช้ SRM เป็น เครื่องมือ - การจัดทำแผนรองรับอุบัติภัย
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 • กระบวนการบูรณาการการดำเนินงานเพื่อ • ส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค • ปัญหาการใช้ประโยชน์จากข้อมูล วิเคราะห์ – ประเมิน – หาสาเหตุ/ปัจจัย – คืนข้อมูล - จัดทำแผนแก้ไขปัญหา - ติดตามประเมินผล • การกำหนดปัญหาสาธารณสุข - ไม่เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน - ไม่สอดคล้องกับข้อมูล/สถานการณ์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 • กระบวนการบูรณาการการดำเนินงานเพื่อ • ส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 • กระบวนการบูรณาการการดำเนินงานเพื่อ • ส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรค • กระบวนการ/แผนแก้ไขปัญหายังแยกส่วนไม่บูรณาการ • ทั้งที่เป็นการแก้ไขปัญหาเรื่องเดียวกัน • การเชื่อมโยงการดำเนินงานกับภาคีเครือข่ายและการ ทำงานเชิงรุก ยังมีน้อย • คุณภาพการดำเนินงาน ทำแล้วปัญหาไม่ลดลง การวิเคราะห์ ประเมินและปรับปรุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สิ่งที่ควรมีการพัฒนา - ให้ความสำคัญกับการใช้ประโยชน์ข้อมูล ทั้งจากระบบรายงานและจากผู้รับบริการเพื่อวิเคราะห์ สาเหตุ ปัจจัย นำมากำหนดปัญหา การคืนข้อมูล และแนวทางแก้ไขปัญหา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สิ่งที่ควรมีการพัฒนา - พัฒนาการใช้ SRM เป็นเครื่องมือในการจัดทำ แผนแก้ไขปัญหาสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่าย เชื่อมโยงกับแผนสุขภาพตำบล/ชุมชน - ทีม SRRT สนับสนุนการนำหลักระบาดวิทยา มาใช้ในป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 • 3.1 การบริหารแผนฯ • กระบวนการจัดทำแผนที่มีไม่มีการบูรณาการเชื่อมโยง กันตั้งแต่เริ่ม ทำให้ระหว่างดำเนินการมีโครงการ จำนวนมากถูกปรับลดเนื่องจากมีความซ้ำซ้อนและ สามารถดำเนินการร่วมกับโครงการอื่นได้ • คุณภาพของแผน/โครงการ (ประเมินผลลัพธ์)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 • 3.1 การบริหารแผนฯ • ขาดผู้จัดการทำหน้าที่บริหารจัดการแผนในภาพรวม (กำกับ/ติดตาม/ประสานและประเมินผล) • แม้มีผู้จัดการ แต่ก็มีการกำกับติดตามเชิงปริมาณ เท่านั้น (ดำเนินการแล้ว ? ใช้งบประมาณเท่าใด) • การรายงานข้อมูลในโปรแกรมบริหารแผนฯ ไม่ ครบถ้วนและไม่เป็นปัจจุบัน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 - โครงการที่ดำเนินการแล้วเสร็จ หมายถึง โครงการที่ดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรม - อ.เมือง แม่เมาะ เกาะคา วังเหนือ เสริมงาม แม่พริก ใช้ข้อมูลจากเอกสารการนิเทศฯ อำเภออื่นใช้ข้อมูลในโปรแกรมบริหารแผนฯ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 • ข้อเสนอการบริหารแผนฯ • ผู้บริหารคปสอ.ควรมีบทบาทในการกำกับติดตาม สนับสนุนกระบวนการบริหารแผนฯอย่างต่อเนื่อง • การจัดระบบบริหารแผนฯที่ชัดเจน มีการกำกับติดตาม อย่างต่อเนื่องและมีการนำเสนอข้อมูลเพื่อกำกับติดตาม ในการประชุม คปสอ. • ควรมีเวทีแลกเปลี่ยน ประเมินผลการดำเนินงานฯ(ทั้ง กระบวนการและผลลัพธ์) เพื่อปรับปรุงคุณภาพของแผน และเกิดการบูรณาการแผน)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 3.2 การบริหารจัดการข้อมูล 3.2.1 ระดับโรงพยาบาล • การบันทึกข้อมูลในบางห้องงานไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน • ไม่มีระบบตรวจสอบข้อมูลก่อนและหลังส่งไปยัง สปสช. โดยเฉพาะ E-claimed • ความหลากหลายของโปรแกรมที่แต่ละรพ.ใช้ • ไม่มีเครือข่ายความช่วยเหลือโปรแกรม HosXP ในระดับรพช.และระดับจังหวัดอย่างเป็นรูปธรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 3.2 การบริหารจัดการข้อมูล 3.2.2 ระดับสสอ.และสถานีอนามัย • การบันทึกข้อมูล ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน • ขาดการตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน • ไม่สามารถดึงข้อมูลรายงานด้านการเงินได้ ครบทุกรายการ (โปรแกรมใหม่ ขาดความชำนาญ) • การนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 • ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการข้อมูล • กำหนดระบบการกำกับติดตามและตรวจสอบให้ ผู้ให้บริการมีการบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง • กำหนดผู้มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล ดูแลระบบโปรแกรมฯ เพื่อแก้ไขปัญหาของระบบ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมฯ เพื่อปรับปรุงการทำงานและรับทราบปัญหาอุปสรรค ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไข
ประเด็นอื่นๆ • 1. การนำเสนอและการจัดเตรียมเอกสารไม่เป็นไปตาม • ประเด็นที่จังหวัดกำหนด • - อำเภอห้างฉัตร อำเภอเมือง • การกำหนดปัญหาสาธารณสุข ไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ • ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน บางอำเภอนำปัญหา • ในการพัฒนางาน/ให้บริการ มาเป็นปัญหาสาธารณสุข
กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงานก.สาธารณสุข เขต 15 จังหวัดลำปาง รอบที่ 2/2553 วันที่ 23 มิถุนายน 2553
กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงานก.สาธารณสุข เขต 15 จังหวัดลำปาง รอบที่ 2/2553 วันที่ 23 มิถุนายน 2553
กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงานก.สาธารณสุข เขต 15 จังหวัดลำปาง รอบ2/2553 วันที่ 24 มิถุนายน2553