1 / 18

กรอบแนวคิด ในการพัฒนางานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2559

กรอบแนวคิด ในการพัฒนางานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2559. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ. วัยเด็ก. มีพัฒนาการไม่สมวัย ร้อยละ 30 - พัฒนาการบกพร่อง (Delayed Development ) ร้อยละ 20 เสี่ยงต่อปัญหา พฤติกรรมอารมณ์ / IQ

wendy-rojas
Download Presentation

กรอบแนวคิด ในการพัฒนางานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2559

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแนวคิด ในการพัฒนางานสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2556 - 2559

  2. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ วัยเด็ก • มีพัฒนาการไม่สมวัยร้อยละ 30 • - พัฒนาการบกพร่อง (Delayed Development) ร้อยละ 20 เสี่ยงต่อปัญหา พฤติกรรมอารมณ์/ IQ • - เป็นโรคบกพร่องทางการเรียนรู้ ร้อยละ 10 (กรมอนามัย 2550 ) • ระดับสติปัญญา (IQ)เฉลี่ย 98.59 (ค่าปกติ=100) • ร้อยละ 48.5 IQ ต่ำกว่าค่าปกติ • ร้อยละ 6.5 เป็นกลุ่มสติปัญญาบกพร่อง • (IQ น้อยกว่า 70 / มาตรฐานสากล กำหนดไม่เกินร้อยละ 2) (กรมสุขภาพจิต 2554) • ความฉลาดด้านอารมณ์(EQ) ปี2550พบคะแนนความฉลาดด้านอารมณ์ • ลดลงจากปี 2545 ในด้านการมุ่งมั่นพยายาม ความกระตือรือร้นการปรับตัวต่อปัญหา • (กรมสุขภาพจิต 2550) • ปัญหาเด็กติดเกมเพิ่มจากร้อยละ 13.3 ในปี2551 เป็น ร้อยละ14.4ในปี2553 (นพ.ชาญวิทย์พรนภดลและคณะ)

  3. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ วัยรุ่น 10-19 ปี • การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ท้องไม่พร้อม) • ร้อยละ25 มีเพศสัมพันธ์ (1.25 ล้านคน จาก 5 ล้านคน) • ร้อยละ10 ตั้งครรภ์(250,000 คน ของวัยรุ่นหญิง 2.5 ล้านคน) • ร้อยละ 50 ตั้งครรภ์จนคลอด(120,000 คน) • ร้อยละ 50 ทำแท้ง • (ดร.วิชัยรูปขำดี 2553)

  4. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ วัยรุ่น • การกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนไทย จาก 7 ฐานความผิด ในปี 2544 - 2553 - คดีเกี่ยวกับการกระทำรุนแรงต่อชีวิตร่างกายร้อยละ 13.07 - คดีความผิดเกี่ยวกับอาวุธ ร้อยละ 7.39 - คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ ร้อยละ 4.74 (กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน) • ความรุนแรงมีมากขึ้นในปี2551และ2553 • พบคดีเด็กและเยาวชน 44,057 และ46,918คดีตามลำดับ • มีการใช้มีดและปืนมากขึ้น • (กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน) 10-19 ปี

  5. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ วัยรุ่น • เด็กติดเกมขั้นรุนแรงมากถึงร้อยละ 9 ของนักเรียนประถมและมัธยมต้น เพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ในรอบ 3 ปี • (กรมสุขภาพจิต, 2553) • เด็กติดเกม เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 13.3 ในปี 2551 เป็น 14.4 ในปี 2553 • (นพ.ชาญวิทย์ พรนพดลและคณะ) • ผู้เข้าบำบัดรักษายาเสพติด เป็นเด็กในกลุ่มอายุ 15-19 ปี มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับประถมศึกษา • ปัจจุบัน เป็นกลุ่มหลักแทนผู้เข้าบำบัดรักษากลุ่มอายุ 20-24 ปี 10-19 ปี

  6. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ วัยทำงาน • ประชากรวัยทำงานลดลงจากปี 2552 (ร้อยละ 67.1) เป็น ร้อยละ 66 ในปี 2558 • ดื่มสุรามากที่สุดในกลุ่ม 30-40 ปี /ฆ่าตัวตายมากในกลุ่ม 25-59 ปี เนื่องจาก • คุณภาพชีวิตไม่ดีพอ • (สนง.สถิติแห่งชาติ + กรมสุขภาพจิต + ส.วิจัยประชากรและสังคม) • การหย่าร้างเพิ่มขึ้นจากอัตรา 5 : 1 ในปี 2542 เป็น 3 : 1 ในปี 2551 • เนื่องจากปัญหาสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัว และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม • ผลที่ตามมา เด็กถูกทอดทิ้ง ผู้สูงอายุถูกปล่อยให้อยู่ตามลำพัง ปัญหายาเสพติด ความรุนแรง พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น ฯลฯ

  7. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ วัยสูงอายุ • ดูแลตนเองได้ร้อยละ64(5.1 ล้านคน) • ดูแลตนเองได้บางส่วนร้อยละ 21(1.6 ล้านคน) • ดูแลตนเองไม่ได้เลยร้อยละ15(1.2 ล้านคน)

  8. ข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่สำคัญ

  9. เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด ประชาชนมีความสุข เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ 70% ของประชาชน ในแต่ละจังหวัดมีความสุข อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน ในแต่ละจังหวัดลดลง บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม

  10. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย เด็ก อบรมพยาบาล WBC ใน รพ.สต./ รพช. จัด National Screening ทั่วประเทศ รณรงค์/จัดกิจกรรมSocial campaign พัฒนามุมพัฒนาการเด็กใน Well-baby Clinic บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ ระบบ Refer ใน รพศ./รพท./รพช. แพทย์ พยาบาลใน รพช. งานพัฒนาการในศูนย์เด็กเล็ก โรงพยาบาลจิตเวช ครูพี่เลี้ยง รพสต. รพช.

  11. แนวคิดในการพัฒนาโครงสร้าง ระบบงาน และอัตรากำลังด้านสุขภาพจิต

  12. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย พื้นที่สร้างสรรค์ เวทีสร้างสุขป้องกัน 4 ปัญหาหลักในวัยรุ่น Psychosocial Clinic บริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ สสจ./ระบบ Refer วัยรุ่น ท้อง, ยาเสพติด,ความรุนแรง, เกมส์ รพช. ระบบ Refer โรงพยาบาลจิตเวช การคัดกรองเด็กที่มีปัญหาการให้คำปรึกษาในโรงเรียน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน ระบบ YC SDQ นักจิตวิทยาในโรงเรียน ท้องไม่พร้อม / ยาเสพติด/ADHD / LD รณรงค์ สธ.+ศธ. ร่วมใจ ปฐมนิเทศ “ปฐมบททางเพศ”

  13. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี ป่วย กลุ่มเป้าหมาย Happy Workplaceให้ความรู้เรื่องยาเสพติด / เครียด / ซึมเศร้า / สุรา / RQ / การแก้ปัญหา ระบบการให้คำปรึกษาในPsychosocial Clinic วัยทำงาน Refer รพช. ระบบบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูทางจิตเวช สถานประกอบการ/โรงงาน ส่งเสริมสุขภาพจิต / คัดกรอง Depression/Dementia และส่งต่อเข้ารับการดูแล ประเมินและดูแลภาวะDepression/Dementia วัยสูงอายุ โรงพยาบาลจิตเวช Refer คลินิก NCD / คลินิกสูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ • ทบทวนมาตรฐานชมรมผู้สูงอายุ และดำเนินงานร่วมกับสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย Key Leverage ปี 2555 13

  14. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน เสี่ยง ป่วย กลุ่มเป้าหมาย ระบบเฝ้าระวัง คัดกรอง ให้ความรู้เบื้องต้น ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในระบบบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ / ตติยภูมิ Refer อสม. แกนนำชุมชน รพช. / รพท. / รพศ. 12 พวงบริการ บริการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence) พัฒนาการเด็ก / MR / Autistic / ADHD / Schizophrenia/ Depression / Suicide / Dementia ประเมินและดูแลเบื้องต้น Refer โรงพยาบาลจิตเวช รพ.สต. / ศสม. Key Leverage ปี 2555 • พัฒนาบริการสุขภาพจิตในพวงบริการ 12 พวง ด้านโครงสร้าง/ระบบบริการ/บุคลากร • อบรมบุคลากรสาธารณสุขในสถานบริการสาธารณสุขในทุกพวงบริการ 14

  15. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี กลุ่มเป้าหมาย ป่วย วิกฤตสุขภาพจิต เตรียมพร้อมซ้อมแผน บูรณาการการบริการวิกฤตสุขภาพจิตในระบบบริการ EMS ระยะปกติ สื่อสารความรู้ การดูแลจิตใจในวิกฤต MCATT ทุกอำเภอ ระยะวิกฤติฉุกเฉิน ส่งเสริมความรู้การดูแลจิตใจ สื่อสารความเสี่ยงจัดการกับความรู้สึก ติดตามฟื้นฟูเยียวยาจิตใจ ส่งเสริมความคิดบวก สร้างพลังใจ Resilience ระยะหลังวิกฤต Key Leverage ปี 2555 • ทบทวนแนวปฏิบัติงานวิกฤตสุขภาพจิต • อบรมทีม MCATT ทุกอำเภอทั่วประเทศ

  16. แนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุขแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย

  17. แนวทางการบริหารการดำเนินงานแนวทางการบริหารการดำเนินงาน

  18. แนวทางการบริหารการดำเนินงานแนวทางการบริหารการดำเนินงาน

More Related