470 likes | 714 Views
แนวทางการพัฒนา แผนงานควบคุมโรคติดต่อ ปี 2551. ไข้หวัดนก. GIS พื้นที่ที่ตรวจพบ H5N1. ต.กุดเชียงหมี. ต.สวาท. ต.กุดชุม. ต.น้ำคำ. ต. ทรายมูล. ต.โนนเปือย. ต.ในเมือง. ต. ดงมะไฟ. ตำบลที่ยังเฝ้าระวังสัตว์ป่วยตาย. ต.น้ำอ้อม. ตำบลสัตว์ป่วยตายที่สงบแล้ว. ฟาร์มไก่ 1แห่ง. ตัวชี้วัด.
E N D
GIS พื้นที่ที่ตรวจพบ H5N1 ต.กุดเชียงหมี ต.สวาท ต.กุดชุม ต.น้ำคำ ต. ทรายมูล ต.โนนเปือย ต.ในเมือง ต. ดงมะไฟ ตำบลที่ยังเฝ้าระวังสัตว์ป่วยตาย ต.น้ำอ้อม ตำบลสัตว์ป่วยตายที่สงบแล้ว ฟาร์มไก่ 1แห่ง
ตัวชี้วัด 1.ไม่มีการติดต่อจากสัตว์สู่คน 2. ป้องกันการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ 3. ระบบเฝ้าระวังเข้มแข็งไวต่อการตรวจจับการระบาด
ประเด็นเสนอแนะในการจัดทำแผนประเด็นเสนอแนะในการจัดทำแผน • การพัฒนาองค์ความรู้ของประชาชน ให้มีผลต่อ • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกัน • พัฒนาความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังในหมู่บ้าน • ให้มีความไวต่อการตรวจจับการระบาด • 3. ซ้อมรับการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่
ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะบวก (M+) Luengnoktha kudchum Thaijareon เฉลี่ย Success rate = 85.6 % Default rate = 5.5 % Saimoon Muang Patui สัญญลักษณ์ (เป้าหมาย) 1.รักษาสำเร็จ (>85%) 2. ขาดยา (< 5%) บรรลุเป้าหมายข้อ1+2 บรรลุเป้าหมาย 1 ข้อ ต่ำกว่าเป้าหมาย ทั้ง2ข้อ Kamkuenkaew Mahachanachai Korwang
ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนปี 2551 1. เจ้าหน้าที่ตำบลยังขาดความเข้าใจในการดำเนินงาน DOTS ควรจัดทำแผนที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ และศักยภาพของเจ้าหน้าที่ 2. การดำเนินงานโครงการเฉลิมพระเกียรติ 80 ยังไม่เข้มข้น และต่อเนื่อง ควรประสานกับ อบต. ในส่วนของแผน/งบประมาณ 3 ผู้ป่วยวัณโรคร้อยละ 12 ติดเชื้อเอดส์ร่วมด้วย เพื่อลดอัตราตาย ควรจัดทำแผนผสมผสานวัณโรค และโรคเอดส์
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(EPI)งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค(EPI)
เป้าหมายและผลการดำเนินงานเป้าหมายและผลการดำเนินงาน
ความครอบคลุมงาน EPI เด็กอายุ 0-1 ปี ,1 ปีครึ่ง ถึง 2 ปี
ความครอบคลุมงาน EPI เด็กอายุ 2 ปีครึ่ง ถึง 3 ปี, 4-5 ปีและหญิงตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนปี 2551 • รณรงค์หยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี - ครั้งที่ 1 วันที่ 26 ธันวาคม 2550 - ครั้งที่ 2 วันที่ 23 มกราคม 2551 2. เน้นการพัฒนาคุณภาพของระบบ Co-Chain
จำนวนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า จังหวัดยโสธร ปี 2535 - 2550
จำนวนผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า แยกตามโรงพยาบาลในจังหวัดยโสธร ปี 2550
ตัวชี้วัด ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผน สร้างความตระหนักในการเลี้ยงดูสุนัขโดยเฉพาะในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งส่วนมากอยู่ในสถานศึกษา 2. พัฒนาระบบการรายงานผู้สัมผัสโรคให้มีคุณภาพ รวดเร็ว ทันเวลา ง่ายต่อการให้บริการและรับบริการ และเพื่อให้ผู้ สัมผัสได้รับวัคซีนครบ
อัตราป่วยต่อแสนโรคเลปโตสไปโรซิสจังหวัดยโสธร ปี 2550 อัตราป่วยต่อแสน อำเภอ
ตัวชี้วัด -ลดอัตราป่วยไม่เกิน 10 ต่อแสนประชากร- อัตราป่วยตายไม่เกินร้อยละ 1 ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผน • ควรเน้นการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในด้าน • สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน • -ควรส่งเสริมและสนับสนุนประชาชนในการสวมรองเท้าบู๊ท
อัตราป่วยต่อแสนโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันทุกกลุ่มอายุจังหวัดยโสธรปี 2550 อัตราป่วยต่อแสน อำเภอ
ตัวชี้วัด 1. อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงอย่างแรงไม่เกิน 3 ต่อแสนประชากร 2. อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกิน 6,000 ต่อแสนประชากร 3. อัตราตายด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ไม่เกิน 1 ต่อแสนประชากร4. อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในทุกกลุ่มอายุ ไม่เกิน 1,000 ต่อแสนประชากร
ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนข้อเสนอแนะการจัดทำแผน 1) พัฒนาความรู้ของผู้ดูแลเด็กเกี่ยวกับการดูแลรักษาโรค ตามกฎ 3 ข้อ 2) คปสอ. กำหนดมาตรการการควบคุมการใช้ยา Anti-biotic 3) ทบทวนการวินิจฉัยโรคของเจ้าหน้าที่ สอ. ตามนิยามของ WHO 4) เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคของผู้ดูแลเด็ก - การปรับปรุงคุณภาพของน้ำก่อนให้เด็กดื่ม - การกำจัดอุจจาระเด็กอย่างถูกสุขลักษณะ - การล้างมือด้วยสบู่เป็นประจำ - ส่งเสริมให้เด็กกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
แสดงจำนวนและอัตราป่วยต่อแสน โรคไข้เลือดออกปี 2548-2550
ตัวชี้วัด • ลดอัตราป่วยให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อ 100,000 ประชากร • ลดอัตราตายไม่เกินร้อยละ 0.15 ของผู้ป่วย • ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน มี HI ไม่เกิน 10 • ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน โรงพยาบาลและสถานบริการสาธารณสุข ร้อยละ 80 มีค่า CI เป็น 0
ข้อเสนอแนะการจัดทำแผนข้อเสนอแนะการจัดทำแผน 1. วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงทุกระดับ โดยใช้ระบบ GIS 2. พัฒนาระบบการควบคุมโรคให้มีความรวดเร็ว และละเอียดในพื้นที่เกิดโรครายแรก 3. พัฒนาศักยภาพ อสม. ในเชิงวิเคราะห์ข้อมูล (ง่าย ๆ ) เช่น ใน หมู่บ้านที่รับผิดชอบ มีคุ้มใดเสี่ยงต้องเน้นหนักเป็นกรณีพิเศษ
สถานการณ์โรคเรื้อนจำแนกรายอำเภอ จ.ยโสธร ปี 2550 Luengnoktha • ตัวชี้วัด • อัตราความชุกน้อยกว่า1/10,000 • ผู้ป่วยรายใหม่มีอาการต่ำกว่า 1 ปี มากกว่า 60% kudchum Thaijareon Saimoon Muang 3 Patui Kamkuenkaew สัญญลักษณ์ มีผู้ป่วย ไม่มีผู้ป่วย Mahachanachai Korwang อัตราความชุก= 0.13/หมื่น
ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนปี 2551 • เจ้าหน้าที่ขาดทักษะการในการวินิฉัย และให้บริการผู้ป่วยจึงควรเน้นการพัฒนาองค์ความรู้ และศักยภาพของเจ้าหน้าที่ 2. อัตราความชุกต่ำกว่าเกณฑ์ แต่ผู้ป่วยรายใหม่ที่ขึ้นทะเบียน รักษาเป็นประเภทเชื้อมาก(MB) ทั้งหมด แสดงว่า ผู้ป่วยมาตรวจรักษาล่าช้า ควรมีการค้นหาที่เข้มข้น
งานเอดส์ • ด้านการป้องกัน • งานเอดส์ในแม่และเด็ก • งานดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์
ด้านการส่งเสริมป้องกันการติดเชื้อด้านการส่งเสริมป้องกันการติดเชื้อ สภาพปัญหาของวัยรุ่น (ม.5) - อัตราการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นชายร้อยละ 28.4 - อัตราการสวมถุงยางอนามัย 45.8 - อัตราการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิง ร้อยละ 3.3 - อัตราการสวมถุงยาง 18.8
ตัวชี้วัดงานด้านการป้องกันตัวชี้วัดงานด้านการป้องกัน อัตราการใช้ถุงยางอนามัยมากกว่าร้อยละ 50 ประเด็นเสนอแนะในการจัดทำแผน 1. เสริมสร้างศักยภาพแกนนำเยาวชนด้านเพศศึกษา ทั้งใน และนอกสถานศึกษา 2. รณรงค์สาธารณะเพื่อสร้างความตระหนักในการใช้ ถุงยาง ในวันเอดส์โลก วันแห่งความรัก
งานเอดส์ในแม่ และเด็ก N Luengnoktha kudchum Thaijareon เฉลี่ย แม่ได้รับยา = 95.5 %หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ = 0.5 % ลูกรับยา = 100% Saimoon Muang Patui สัญญลักษณ์ (เป้าหมาย) 1.แม่ได้รับยา (>95%) 2. ติดเชื้อ เอชไอวี (< 0.7%) บรรลุเป้าหมายข้อ1+2 บรรลุเป้าหมาย 1 ข้อ ต่ำกว่าเป้าหมาย ทั้ง2ข้อ Kamkuenkaew Mahachanachai Korwang
ตัวชี้วัดงานเอดส์ในแม่และเด็กตัวชี้วัดงานเอดส์ในแม่และเด็ก • ลดอัตราการติดเชื้อเอดส์ในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 0.7 • หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ และลูกที่คลอดจากแม่ที่ติดเชื้อ ได้รับยาต้านไวรัส ร้อยละ 100 • หญิงตั้งครรภ์ที่ติดชื้อ และลูกหลังคลอดได้รับการติดตามดูแลสุขภาพเมื่ออายุ 1,2,4,6,9,12,15,18(เดือน) ได้รับการตรวจเลือดหาเชื้อ เอชไอวี ร้อยละ 90 4. อัตราถ่ายทอดการติดเชื้อเอดส์จากแม่สู่ลูกไม่เกินร้อยละ 3
ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนข้อเสนอแนะในการจัดทำแผน • จนท.ขาดทักษะการให้การปรึกษา ควรจัดทำแผนที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ และศักยภาพของเจ้าหน้าที่ 2. บางรพ.มีอัตราการติดเชื้อ เอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์มากกว่าเกณฑ์ เนื่องจากมีการตั้งครรภ์ซ้ำของผู้ติดเชื้อ ดังนั้นควรมีรูปแบบการให้บริการอนามัยเจริญพันธ์ ในกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี 3. บางโรงพยาบาลหญิงติดเชื้อไม่ได้รับยาต้านไวรัสขณะใกล้คลอด ดังนั้นควรมีรูปแบบให้สามารถ Test ที่มีคุณภาพ และรวดเร็ว
สภาพปัญหาผู้ป่วย ผู้ติดเชื้อเอดส์ และการได้รับยาต้านไวรัส
ตัวชี้วัดในการดำเนินงานด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยตัวชี้วัดในการดำเนินงานด้านการดูแลรักษาผู้ป่วย • 1. ร้อยละ 90 ของผู้ติดเชื้อรายใหม่ได้รับการตรวจหา CD4 • ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยที่ได้รับยา มีความต่อเนื่องในการรับยา • 3. ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยรายใหม่ ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค • ร้อยละ 90 ตรวจคัดกรองซิฟิลิส และร้อยละ 70 ตรวจคัดกรอง pap – Smear ทุก 1 ปี
ข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนข้อเสนอแนะในการจัดทำแผน • ควรจัดทำแผนที่เน้นความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ติดเชื้อเพื่อให้การติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชน 2. ควรประสาน อปท. เพื่อจัดหาทุนในการให้การสงเคราะห์ผู้ป่วยมากขึ้น
ผลการประเมินมาตรฐานงานระบาดวิทยาโรคติดต่อ ปี พ.ศ.2550 หมายเหตุ1.ประเมินโดยทีมจังหวัดในระหว่างวันที่ 9-23 พฤษภาคม 2550 2. เกณฑ์การผ่านร้อยละ 60 ขึ้นไป
ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 80 ของ สอ./ศสช.ผ่านการประเมินมาตรฐานงานระบาด 2.ร้อยละ 100 ของศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ(สสอ.) และโรงพยาบาล ผ่านการประเมินมาตรฐาน3.ร้อยละ 70 ของทีม SRRT ระดับอำเภอในจังหวัดยโสธร ผ่านการ ประเมินมาตรฐานทีม SRRT 4.ทีม SRRT ทุกทีมในระดับอำเภอมีรายงานสอบสวนโรคที่มี คุณภาพอย่างน้อย 1 เรื่อง
แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาการส่งต่อข้อมูลเฝ้าระวังโรคให้มีความทันเวลามากขึ้น2. พัฒนาการนำข้อมูลรายงานเฝ้าระวังโรคให้นำมาใช้ประโยชน์3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้มีทักษะในด้านการเฝ้าระวัง สอบสวนโรค และ ด้านการเขียนรายงานที่มีคุณภาพ4. เพิ่มความเข้มข้นในการประเมินมาตรฐานงานระบาดวิทยา โรคติดต่อและทีม SRRT ทุกระดับ