442 likes | 1.23k Views
วิทยานิพนธ์ เรื่อง. ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดี ตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 นา งสุนีพร รัฐการวิวัฒน์ นักศึกษาปริญญาโท สาขา การบริหารการศึกษา. บทที่ 1.
E N D
วิทยานิพนธ์เรื่อง ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดี ตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 นางสุนีพร รัฐการวิวัฒน์ นักศึกษาปริญญาโท สาขา การบริหารการศึกษา
บทที่ 1 ภูมิหลังของการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครูครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2ทั้งโดยรวมและรายด้าน • เพื่อเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครูครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ ขนาดโรงเรียน ทั้งโดยรวมและรายด้าน • เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครูครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2
สมมติฐานการวิจัย • ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งโดยรวมและรายด้าน • การปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครู ครูดี ผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 ที่มีเพศ • ประสบการณ์และขนาดโรงเรียนต่างกัน แตกต่างกัน ทั้งโดยรวมและรายด้าน
กรอบแนวคิดของการวิจัย กรอบแนวคิดของการวิจัย • คู่มือครู ครูดีผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ กำหนดแนวทางการปฏิบัติ 4 ข้อของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ขอบเขตการวิจัยประชากรและกลุ่มตัวอย่างขอบเขตการวิจัยประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือครูผู้สอนโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่1-2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 2,969 คน 2.กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น ได้จำนวนทั้งสิ้น 297 คน
ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย • ตัวแปรอิสระ • เพศ ประสบการณ์และขนาดของโรงเรียน • ตัวแปรตาม • ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูดีตามคู่มือครู ครูดีผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ กำหนดแนวทางการปฏิบัติ 4 ข้อ ของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัยประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย • เป็นข้อสนเทศสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 ในการปรับปรุง พัฒนาบุคลากรให้มีการประพฤติปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี
บทที่ 2เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • แนวคิดเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม • ความหมายของคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม • หลักคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับครู • บทบาทหน้าที่ของครู • ค่านิยมที่ครูควรประพฤติปฏิบัติ • จรรยาบรรณของครู • คุณลักษณะของครูที่ดีด้านคุณธรรม จริยธรรม • ทักษะการปฏิบัติตนของครู • การปฏิบัติตนตามคู่มือครู
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • งานวิจัยในประเทศ 8 เรื่อง • งานวิจัยต่างประเทศ 7 เรื่อง
บทที่ 3วิธีการดำเนินการวิจัย • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • 1.ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือครูผู้สอนโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่1-2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 ปีการศึกษา 2548 จำนวน 2,969 คน • 2.กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนที่เปิดสอนช่วงชั้นที่ 1-2 ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น จากประชากรทั้งหมดร้อยละ10แยกตามขนาดโรงเรียนได้ดังนี้
โรงเรียนขนาดเล็ก เพศชาย 38 คน เพศหญิง 31 คน รวม 69 คน โรงเรียนขนาดกลาง เพศชาย 107คน เพศหญิง 101 คน รวม 208 คน โรงเรียนขนาดใหญ่ เพศชาย 9 คน เพศหญิง 11 คน รวม 20 คน รวมทั้งสิ้น 297 คน ต่ำกว่า 10 ปี จำนวน 84 คน 11-20 ปี จำนวน 143 คน 21 ปีขึ้นไป จำนวน 70 คน รวมทั้งสิ้น 297 คน จำแนกตามขนาดโรงเรียนและประสบการณ์
เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล • แบ่งออกเป็น 3 ตอน • แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม • แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale ) • แบบสอบถามปลายเปิด (Open-Ended Questionnaire)
วิธีการสร้างเครื่องมือวิธีการสร้างเครื่องมือ • ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า • ดำเนินการสร้างแบบสอบถาม • นำแบบสอบถามที่ได้เสนอต่อคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อพิจารณานำมาปรับปรุงแก้ไข
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ (ต่อ) • นำแบบสอบถามที่ได้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจความถูกต้องพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่น • นำแบบสอบถามที่ได้เสนอต่อคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตรวจความถูกต้องนำไปปรับปรุงแก้ไข • นำแบบสอบถามที่ได้ไปทดลองใช้กับครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน • นำแบบสอบถามที่ได้มาหาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าตามแนวคิดของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่น 0.87
การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามถึงผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามเขต 2 พร้อมส่งแบบสอบถามให้กับครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 297 ฉบับ โดยส่งด้วยตนเอง 2.ออกติดตามแบบสอบถามด้วยตนเองตามวันเวลาที่กำหนด
การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล 1.นำแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาทั้งหมด มาตรวจความสมบูรณ์คัดเลือกเฉพาะฉบับที่สมบูรณ์ไว้ 2.ตรวจให้คะแนนแบบสอบถามเป็นรายข้อและรายด้านตามเกณฑ์ 3.วิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามตอนที่1 เกี่ยวกับเพศ ประสบการณ์ ขนาดโรงเรียนด้วยค่าร้อยละ 4.นำคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.วิเคราะห์ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี โดยนำค่าเฉลี่ยที่ได้เปรียบเทียบระหว่างเพศ ประสบการณ์ และขนาดโรงเรียน 6.ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นข้อเสนอแนะนำมารวบรวมตามประเด็นแสดงความถี่นำเสนอในรูปความเรียง
สถิติ • สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม • ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา • สถิติพื้นฐาน • ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( Mean ) • ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) • สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน • T-test และF -test
บทที่ 4การวิเคราะห์ข้อมูล • ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามจำนวน 297 ฉบับ ได้รับคืน 297 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 ทำการคัดเลือกฉบับที่สมบูรณ์ปรากฎว่ามีความสมบูรณ์ทั้ง 297 ฉบับ จึงมาตรวจสอบให้คะแนน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ผลการวิเคราะห์ได้ดังนี้ • 1.วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามด้วยค่าร้อยละ • 2.วิเคราะห์เกี่ยวกับระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีโดยรวมและรายด้านเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • 3.วิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี โดยรวมและรายด้าน จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ ขนาดโรงเรียนโดยใช้สถิติ T-test และ F-test ใช้ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4.ข้อเสนอแนะการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีนำมารวบรวมตามประเด็น แสดงความถี่ นำเสนอในรูปความเรียง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยรวมและรายด้านโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยรวมและรายด้านโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกตามเพศ
ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกตามประสบการณ์
ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จำแนกตามขนาดโรงเรียน
เปรียบเทียบความแตกต่างระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี จำแนกตามประสบการณ์ โดยรวมและรายด้าน
เปรียบเทียบความแตกต่างระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมและรายด้าน
บทที่ 5 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ • ผลการวิเคราะห์ระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดี • พบว่า • 1.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก • 2.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีจำแนกตามเพศโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก • 3.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีจำแนกตามประสบการณ์โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก • 4.การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีจำแนกตามขนาดโรงเรียนโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครู จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน • พบว่า การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครู จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน โดยรวม ไม่แตกต่างกัน
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครู จำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีของข้าราชการครูจำแนกตามขนาดโรงเรียน แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไปข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาการปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีตามคู่มือครู ครูดีผู้พัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของชาติของข้าราชการครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 เชิงคุณภาพ 2. การปฏิบัติตนเป็นครูที่ดีตามคู่มือครู ครูดีผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติของ ข้าราชการครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคามทุกเขตพื้นที่การศึกษา 3. การปฏิบัติการสอนของครูที่ดีที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน