1 / 35

เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน ( Fundamental Level)

เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน ( Fundamental Level). ภาวนา กิตติวิมลชัย สำนักประเมินและประกันคุณภาพ ม . ขอนแก่น pawana@kku.ac.th. ฉีดวัคซีน PMQA. PMQA. ปี 2549. ปี 2550. ปี 2551. ปี 2552. ตัวชี้วัดเลือก เน้นการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกณฑ์ PMQA. ตัวชี้วัดเลือก

wynn
Download Presentation

เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน ( Fundamental Level)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) ภาวนา กิตติวิมลชัย สำนักประเมินและประกันคุณภาพ ม.ขอนแก่น pawana@kku.ac.th

  2. ฉีดวัคซีน PMQA

  3. PMQA ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 • ตัวชี้วัดเลือก • เน้นการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกณฑ์ PMQA • ตัวชี้วัดเลือก • มีการวิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร • ตัวชี้วัดบังคับ • ประเมินตนเองแบบ “ADLI” • ตัวชี้วัดบังคับ • กำหนดเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • การผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำระดับพื้นฐาน • จัดทำแผนพัฒนาองค์การ

  4. Roadmap การพัฒนาองค์การ 2554 2552 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level 6 สถาบันอุดมศึกษา 4 5 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  5. Roadmap การพัฒนาองค์การ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554 2552 2553 คำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่าง อธิการบดีกับคณบดี ผอ. ศูนย์ สถาบัน สำนัก และหน่วยงาน 1 4 5 Successful Level คณะ/หน่วยงาน 2 3 6 1 3 2 Successful Level 6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4 5 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  6. เกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Fundamental Level)

  7. เปรียบเทียบเกณฑ์ PMQA กับเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน

  8. Contents เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน

  9. แนวคิดในการจัดทำเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • มุ่งเน้นให้มีการนำไปปฏิบัติมากกว่าการเขียนรายงาน • เน้นการวิเคราะห์กระบวนการอย่างเป็นระบบและการสร้างความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ • ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและตัวชี้วัดที่ส่วนราชการเก็บอยู่ • เน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและบูรณาการ • เน้นการพัฒนามากกว่าการได้รางวัล

  10. PMQA ระดับพื้นฐานพิจารณาการดำเนินการตามประเด็น ADLI

  11. หมวด 1 การนำองค์กร LD1-LD6

  12. หมวด 1 การนำองค์กร

  13. การกำหนดทิศทางองค์กร

  14. หมวด 1 การนำองค์กร

  15. หมวด 1 การนำองค์กร

  16. หมวด 1 การนำองค์กร

  17. หมวด 1 การนำองค์กร • ประเด็นสำคัญ • ผู้บริหารต้องเข้าร่วมกิจกรรม • การจัดกิจกรรมต้องครอบคลุมบุคลากรทุกคณะ/หน่วยงาน • ตัวอย่างกิจกรรม เช่น สภากาแฟ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมวิชาการสร้างสรรค์ MORNING TALK / LUANCH TALK/ DINNER TALK • การจัด KM อย่างเดียว อาจจะไม่เพียงพอ หรือไม่ตอบโจทย์การสร้างความผูกพันและแรงจูงใจในการทำงาน • กิจกรรมที่จัดต้องสร้างความผูกพัน แรงจูงใจในการทำงาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีผลดี อาจจะประเมินจากแบบสอบถาม/การสุ่มจากบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม/การสัมภาษณ์ผู้บริหาร/การเทียบผลการดำเนินงาน แผนพัฒนาองค์การ มข.

  18. ตัวอย่างกิจกรรม LD 3

  19. หมวด 1 การนำองค์กร ประเด็นสำคัญ ตัวชี้วัดที่นำมาติดตามประเมินผลไม่ควรเกิน 20 ตัว แต่ควรจะครอบคลุม ตัวชี้วัดจาก 5 แหล่ง 1. ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 2. ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก 3. ตัวชี้วัดเกี่ยวกับกระบวนการที่สร้างคุณค่า 4. ตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์ 5. ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ

  20. หมวด 1 การนำองค์กร แผนพัฒนาองค์การ มข.

  21. หมวด 1 การนำองค์กร

  22. หมวด 1 การนำองค์กร แผนพัฒนาองค์การ มข.

  23. หมวด 1 การนำองค์กร ประเด็นสำคัญ 1. ผลกระทบทางลบ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาแล้ว 2. หากพิจารณาจากผลการดำเนินงานแล้วไม่พบว่ามีผลกระทบทางลบ ให้พิจารณาจากข้อ ร้องเรียน/กรณีฟ้องร้อง/การประกาศใช้นโยบาย ระเบียบต่างๆ 3. การไม่มีผลกระทบทางลบแสดงให้เห็นถึงการมีมาตรการป้องกันที่ดี 4. หากไม่มีผลกระทบทางลบ การดำเนินงานในประเด็น D จะพิจารณาจากการสื่อสารมาตรการ ป้องกันผลกระทบทางลบให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ

  24. หมวด 1 การนำองค์กร

  25. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP1-SP7

  26. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents

  27. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents ตัวอย่างตารางแสดงขันตอนของกระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (SP 1)

  28. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents

  29. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents ตัวอย่างตารางจัดเก็บข้อมูล SP2

  30. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents ประเด็นสำคัญ 1. แผนบริหารทรัพยากรบุคคลต้องสอดคล้องกับแผน 4 ปีและ 1 ปี 2. กรณีแผนบริหารทรัพยากรบุคคลที่ได้ทำไว้แล้ว ต้องแสดงให้เห็นว่ามีการนำแผนดังกล่าวมาทบทวนเพื่อให้สอดคล้องกับแผน 4 ปีและ 1 ปี 3. หลักฐานที่ต้องแสดงคือ ความเชื่อมโยงของแผนบริหารทรัพยากรบุคคลกับแผน 4 ปีและ 1 ปี

  31. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents LD 1

  32. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents

  33. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents LD 4

  34. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ Contents

  35. ถาม-ตอบ Contents

More Related