1 / 32

สถานภาพของนักข่าวหญิงในประเทศไทย

สถานภาพของนักข่าวหญิงในประเทศไทย. ดร.กันยิกา ชอว์และคณะ 17 พฤษภาคม 2552. วรรณกรรมปริทัศน์. งานวิจัยของ Weaver D.H. เรื่อง “The Global Journalist: News People Around the World” (1998) พบว่านักข่าวมักเป็น college graduate 35 years old women represent 30% of the journalistic corps

antonia
Download Presentation

สถานภาพของนักข่าวหญิงในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานภาพของนักข่าวหญิงในประเทศไทยสถานภาพของนักข่าวหญิงในประเทศไทย ดร.กันยิกา ชอว์และคณะ 17 พฤษภาคม 2552

  2. วรรณกรรมปริทัศน์ • งานวิจัยของWeaver D.H. เรื่อง “The Global Journalist: News People Around the World” (1998) พบว่านักข่าวมักเป็น • college graduate • 35 years old • women represent 30% of the journalistic corps • working conditions varies-professional autonomy, political pressures, material resources and traditions of journalism

  3. งานวิจัยของKirat (2000) เกี่ยวกับสื่อมวลชนใน Middle East and South East Asia • พบว่าสื่อมวลชนโดยมาก • a university degree • average age of 36 • average of 12 years of experiences • satisfied with their jobs (74%) • heavy media consumers

  4. งานวิจัยของRobinson เกี่ยวกับ Canadian women journalists • พบว่าสื่อมวลชนมีลักษณะ • a high degree • deeply conscious of their social responsibility • high performance standards • งานวิจัยของHijab and Shalabieh (1999) women journalists in Jordan • พบว่า • discrimination between male and female • training, job advancement, responsibilities and abroad assignments.

  5. งานวิจัยในประเทศไทย • Ubonrat () - the number of women getting into media study increases. • a number of studies showed inequality between male and female journalists. • Nunya Phancharoen (1995) - sex is often an issue when referring to news person, especially in relation to sport reporter and crime reporter • Wilasinee Pipitkul (1976)and (1996) - ‘sex’ sometimes has to be taken into account when assigning job

  6. Research Questions • Q1: What are the socio-demographic and educational backgrounds of women journalists in Thailand? • Q2: What are their professional and ethics? • Q3: What are the working conditions of the women journalists in Thailand regarding managers (head, sub-head, editor, sub-editor, senior editor, managing editor) and peers? • Q4: How do audiences perceive women journalists? • Q5: How do women journalists in Thailand perceive the journalism profession?

  7. Data collection • 200 women journalists, 200 men journalists, 100 managers (heads and editors) and 400 samples of population in Bangkok. • received 195 completed questionnaires from female journalists, 155 from male journalists, 95 from managers and 400 from Bangkok population. • 15- daily press in Bangkok - Bangkok Post, the Nation, กรุงเทพธุรกิจ, ข่าวสด, คมชัดลึก, เดลินิวส์, ไทยรัฐ, ไทยโพสต์, แนวหน้า, บ้านเมือง, ประชาชาติธุรกิจ, ผู้จัดการ, โพสต์ทูเดย์, มติชน, และสยามรัฐ

  8. ผลการศึกษา • นักข่าวหญิง • อายุของนักข่าวหญิงนักข่าวหญิงกลุ่มใหญ่ที่สุดคือ กลุ่มที่มีอายุ 26-30 ปี (33.8%) โดยมีกลุ่มอายุ 36-40 ปี (31.3%) ที่จำนวนไม่แตกต่างกันมาก กลุ่มที่น้อยที่สุดคือกลุ่มที่มีอายุสูงกว่า 40 ปี (6.2%) • นักข่าวชาย • อายุของนักข่าวชายกลุ่มใหญ่ที่สุดคือ กลุ่มที่มีอายุ 26-30 ปี (29.0%) โดยมีกลุ่มอายุ 31-35 ปี (26.5%) และ อายุ 36-40 ปี (23.2%) ที่จำนวนไม่แตกต่างกันมาก กลุ่มที่น้อยที่สุดคือกลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี (7.1%)

  9. แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบอายุนักข่าวหญิง นักข่าวชาย และหัวหน้า

  10. สถานภาพการสมรส • นักข่าวหญิง • สถานภาพการสมรสของนักข่าวหญิงพบว่าส่วนใหญ่ยังคงเป็นโสด มีจำนวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 86.5 และสมรสแล้ว มีจำนวนเพียง 20 คน คิดเป็นร้อยละ 10.3 • นักข่าวชาย • สถานภาพการสมรสของนักข่าวชายพบว่าส่วนใหญ่ยังคงเป็นโสด มีจำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 62.6 และสมรสแล้ว มีจำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 32.9

  11. แผนภูมิแสดงสถานภาพสมรสของนักข่าวหญิง นักข่าวชายและหัวหน้า

  12. ระดับการศึกษา • นักข่าวหญิง • จากระดับการศึกษาของนักข่าวหญิงพบว่า จำนวนนักข่าวหญิงที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีมากที่สุด จำนวน 163 คน มีจำนวน 83.6 คนที่จบระดับสูงกว่าปริญญาตรี และมี 30 คน (15.4%) ที่จบระดับต่ำกว่าปริญญาตรีมีเพียง 1 คน ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 0.5 • นักข่าวชาย • จากระดับการศึกษาของนักข่าวชายพบว่า จำนวนนักข่าวชายที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีมากที่สุด จำนวน 134 คน (86.5%) มีจำนวน 14 คนที่จบระดับสูงกว่าปริญญาตรี และมีเพียง 7คน ที่จบระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 4.5

  13. แผนภูมิแสดงระดับการศึกษาของนักข่าวหญิง นักข่าวชายและหัวหน้า

  14. สาขาที่จบการศึกษา • นักข่าวหญิง • พบว่านักข่าวหญิงจำนวนมากที่สุด 129 คน คิดเป็นร้อยละ 66.2 จบการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิชาหนังสือพิมพ์ วารสารศาสตร์ นิเทศศาสตร์หรือสื่อสามวลชน ส่วนนักข่าวหญิงที่จบสาขาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องมีจำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 • นักข่าวชาย • พบว่านักข่าวชายจำนวนมากที่สุด 91 คน คิดเป็นร้อยละ 58.7 จบการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับวิชาหนังสือพิมพ์ วารสารศาสตร์ นิเทศศาสตร์หรือสื่อสามวลชน ส่วนนักข่าวชายที่จบสาขาอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องมีจำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 39.4

  15. แผนภูมิแสดงสาขาที่จบการศึกษาของนักข่าวหญิง นักข่าวชายและหัวหน้า

  16. ระดับรายได้ • นักข่าวหญิง • เมื่อดูจากรายได้ที่นักข่าวหญิงได้รับพบว่า ในจำนวนมากที่สุด 116 คน มีรายได้ต่อเดือนอยู่ที่ 10,001-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 59.5 และจำนวนน้อยที่สุด 17 คน มีรายได้ต่อเดือนมากกว่า 30,001 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.7 • นักข่าวชาย • เมื่อดูจากรายได้ที่นักข่าวชายได้รับพบว่า ในจำนวนมากที่สุด 104 คน มีรายได้ต่อเดือนอยู่ที่ 10,001-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 67.1 และจำนวนน้อยที่สุด 8 คน มีรายได้ต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 5.2

  17. แผนภูมิแสดงรายได้ของนักข่าวหญิงและนักข่าวชายแผนภูมิแสดงรายได้ของนักข่าวหญิงและนักข่าวชาย

  18. ระยะเวลาในการทำงานในวิชาชีพสื่อสารมวลชนระยะเวลาในการทำงานในวิชาชีพสื่อสารมวลชน • นักข่าวหญิง • นักข่าวหญิงจำนวนมากที่สุด 62 คน ประกอบอาชีพด้านสื่อสารมวลชนเป็นระยะเวลาน้อยกว่า 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.8 รองลงมาทำงานในวิชาชีพสื่อสารมวลชน 5-10 ปี จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 28.2 เท่ากับนักข่าวหญิง 55คน ที่ทำงาน 11-15 ปี และน้อยที่สุดทำงานในวิชาชีพสื่อสารมวลชนจำนวน 1 คน ที่ทำงานระยะ 21-25 ปี 26-30 ปีและ มากกว่า 30 ปี • นักข่าวชาย • นักข่าวชายจำนวนมากที่สุด 56 คน ประกอบอาชีพด้านสื่อสารมวลชนเป็นระยะเวลา 5-10 ปี คิดเป็นร้อยละ 36.1 รองลงมาทำงานในวิชาชีพสื่อสารมวลชนน้อยกว่า 5 ปี จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 27.1 และน้อยที่สุดทำงานในวิชาชีพสื่อสารมวลชน 26-30 ปี จำนวน 1คน คิดเป็นร้อยละ 0.6

  19. ตารางแสดงการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ทำงานสื่อสารมวลชนของนักข่าวหญิงและนักข่าวชายตารางแสดงการเปรียบเทียบระยะเวลาที่ทำงานสื่อสารมวลชนของนักข่าวหญิงและนักข่าวชาย

  20. แผนภูมิแสดงเพศของหัวหน้าข่าวของนักข่าวหญิงและนักข่าวชายแผนภูมิแสดงเพศของหัวหน้าข่าวของนักข่าวหญิงและนักข่าวชาย

  21. จำนวนวันหยุดต่อสัปดาห์ ชั่วโมงการทำงาน จำนวนข่าวที่ทำในแต่ละวัน และสถานที่ทำงาน • นักข่าวหญิง • นักข่าวหญิงที่พบมากที่สุดมีวันหยุดเฉลี่ย 1.56 วันต่อสัปดาห์ โดยทำงานเฉลี่ย 8.99 ชั่วโมงต่อวัน และเฉลี่ยทำข่าว 3.95 ข่าวต่อวัน นักข่าวหญิงส่วนใหญ่คือจำนวน 104 คนจะทำงานนอกสำนักงาน คิดเป็นร้อยละ 53.6 • นักข่าวชาย • นักข่าวชายที่พบมากที่สุดมีวันหยุดเฉลี่ย 1.33 วันต่อสัปดาห์ โดยทำงานเฉลี่ย 9.42 ชั่วโมงต่อวัน และเฉลี่ยทำข่าว 3.97 ข่าวต่อวัน นักข่าวชายส่วนใหญ่คือจำนวน 81 คนจะทำงานนอกสำนักงาน คิดเป็นร้อยละ 52.3

  22. มุมมองของนักข่าวหญิงต่อตนเองมุมมองของนักข่าวหญิงต่อตนเอง • ท่านรู้สึกภาคภูมิใจในอาชีพของท่าน (4.47) • ท่านรู้สึกสนุกกับงานที่ได้รับมอบหมาย (4.40) • หัวหน้าของท่านเชื่อถือในการปฏิบัติงานของท่าน (4.215) • ท่านมีความรู้สึกว่าอาชีพของท่านมีเกียรติในสังคม (4.10) • คนในครอบครัวของท่านมีความพอใจกับงานที่ท่านทำอยู่ (4.05) • แหล่งข่าวเชื่อมั่นในการทำงานของท่านไม่น้อยกว่านักข่าวชาย (3.88) • ท่านมีความรู้สึกว่าอาชีพของท่านมีความมั่นคง (3.32) • ค่าตอบแทนที่ท่านได้เหมาะสมกับปริมาณงานที่ท่านทำ (3.25) • ค่าตอบแทนที่ท่านได้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของท่าน (3.23) • ถ้ามีงานอื่นที่ไม่ใช่งานข่าวให้ท่านทำ ท่านจะเปลี่ยนไปทำงานอื่นอย่างเต็มใจ (3.01)

  23. หัวหน้าของท่านปฏิบัติต่อท่านไม่แตกต่างจากต่อนักข่าวชาย (4.29) • นักข่าวชายคิดว่าหัวหน้างานให้การยอมรับหรือเชื่อในความสามารถของนักข่าวหญิง (4.10) • ท่านปฏิบัติต่อนักข่าวหญิงไม่แตกต่างจากต่อนักข่าวชาย (4.36) • เพื่อนนักข่าวชายในสังกัดท่านให้ความร่วมมือการทำงานของท่านเป็นอย่างดี (4.13) • นักข่าวชายมักให้ความร่วมมือกับนักข่าวหญิง (4.11) • นักข่าวหญิงสามารถสร้างความสัมพันธ์/ติดต่อกับแหล่งข่าวได้ดีเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.81) • นักข่าวหญิงสามารถสร้างความสัมพันธ์/ติดต่อแหล่งข่าวได้ดี (4.25) • นักข่าวหญิงสามารถสร้างความสัมพันธ์/ติดต่อกับแหล่งข่าวได้ดีเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.77)

  24. หากมีข่าวสำคัญที่ต้องการเผยแพร่ต่อสื่อมวลชน แหล่งข่าวมักเลือกให้ข่าวกับท่านมากกว่านักข่าวชาย (2.93) • นักข่าวชายคิดว่าแหล่งข่าวมีแนวโน้มจะให้ข่าวกับนักข่าวหญิง (3.74) • ท่านมักได้รับความสะดวกในการสัมภาษณ์แหล่งข่าวมากกว่านักข่าวชาย (3.01) • นักข่าวหญิงมักได้รับอภิสิทธิ์หรือความสะดวกจากแหล่งข่าวก่อน (3.26) • นักข่าวหญิงมีเวลาให้กับงานข่าวได้อย่างเต็มที่เมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.33) • นักข่าวหญิงมีเวลาให้กับงานอย่างเต็มที่ (3.11) • นักข่าวหญิงมีเวลาให้กับงานข่าวได้อย่างเต็มที่เมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (2.94)

  25. นักข่าวหญิงมักมีความแม่นยำ เที่ยงตรงในการทำข่าว (3.55) • นักข่าวหญิงมักมีความเที่ยงตรง แม่นยำในการทำข่าว (3.28) • นักข่าวหญิงมักมีความแม่นยำ เที่ยงตรงในการทำข่าวเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.03) • นักข่าวหญิงมีจรรยาบรรณในการทำงานสูง (3.50) • นักข่าวหญิงมีจรรยาบรรณในการทำงานสูง (3.36) • นักข่าวหญิงเป็นผู้มีจรรยาบรรณเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.14) • ท่านได้รับโอกาสเลื่อนตำแหน่งหรือขึ้นเงินเดือนเท่าเทียมกับนักข่าวชาย (3.86) • ท่านพิจารณาเลื่อนตำแหน่งให้นักข่าวหญิงทัดเทียมกับนักข่าวชาย (4.51)

  26. เพื่อนร่วมงานทุกคนยอมรับและเชื่อถือการทำงานของท่าน (4.26) • โดยทั่วไปนักข่าวชายยอมรับความสามารถของนักข่าวหญิง (4.22) • หัวหน้าของท่านยอมรับการทำงานของท่าน (4.216) • ท่านพอใจกับผลงานของนักข่าวหญิง (3.70) • นักข่าวหญิงมีความรับผิดชอบต่องานข่าวได้ดีเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.77) • นักข่าวหญิงมีความรับผิดชอบต่องานได้ดี (3.60) • นักข่าวหญิงมีความรับผิดชอบต่องานข่าวได้ดีเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.26)

  27. อุปสรรคที่เกิดขึ้นในการทำงาน (เกิดขึ้นบ่อย เกิดขึ้นบ้าง ไม่เคยเกิดขึ้น) ถูกถากถาง (5.6 / 32.3 / 57.9) ถูกลวนลามทางวาจา (3.6 / 21.5/ 70.8) ถูกลวนลามทางร่างกาย (0.5 / 8.7/ 86.7) ถูกปฏิเสธจากแหล่งข่าว (13.3 / 54.4/ 27.7) ถูกหัวหน้าตำหนิการทำงาน (9.2 / 55.9 / 31.3) ถูกสมาชิกในครอบครัวขอร้องให้เปลี่ยนอาชีพ (10.2 / 24.6 / 61.5)

  28. ความคิดเห็นจากนักข่าวชายความคิดเห็นจากนักข่าวชาย • มีการชิงดีชิงเด่นระหว่างนักข่าวหญิงสูง (2.95) • อึดอัดใจในการทำงานร่วมกับนักข่าวหญิง (2.61) • นักข่าวหญิงมักเป็นตัวถ่วงในการทำงาน (1.88)

  29. ความคิดเห็นจากหัวหน้างานความคิดเห็นจากหัวหน้างาน • ความคิดเห็นและการยอมรับของหัวหน้างานต่อการทำงานของนักข่าวหญิงโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ • ถ้ามีโอกาสเลือกรับนักข่าวท่านเปิดโอกาสรับนักข่าวหญิงเท่ากับนักข่าวชาย (4.31) • นักข่าวหญิงมีความตรงต่อเวลาเมื่อเทียบกับนักข่าวชาย (3.30) • นักข่าวหญิงมักมีปัญหาเรื่องไม่มีเวลาให้ครอบครัว (3.29) • นักข่าวหญิงเขียนข่าวได้ดีไม่แพ้นักข่าวชาย (3.94) • นักข่าวหญิงมีความรอบคอบในการทำงานมากกว่านักข่าวชาย (3.14) • โดยทั่วไปนักข่าวหญิงไม่ทำตัวเป็นปัญหากับเพื่อนร่วมงาน (3.03)

  30. ข้อเด่น/ข้อด้อยจากมุมมองนักข่าวชายข้อเด่น/ข้อด้อยจากมุมมองนักข่าวชาย • อาศัยความเป็นผู้หญิงเข้าหาแหล่งข่าวได้ง่าย • ทำให้บรรยากาศในการตั้งคำถามที่แข็งตรงไปตรงมาดูอ่อนน้อมขึ้น • สนใจรายละเอียดบางเรื่องที่นักข่าวชายไม่สนใจ • ปัญหาของผู้หญิงดูว่าน้อยกว่าผู้ชาย • มุมมอง แนวคิด • มีเทคนิคในการเข้าหาแหล่งข่าวได้ดี • ความเสี่ยงต่อข่าวที่มีผลกระทบ เช่น ทำข่าวม๊อบ 2.ความเสี่ยงต่อการทำงานนอกสถานที่ในยามวิกาล 3.ความลังเลในการตัดสินใจหรือความอ่อนไหวต่อแหล่งข่าว อันเชื่อถือหรือเกลียดมากเกินไป • ขี้อิจฉา นินทาว่าร้าย ขี้น้อยใจ • บางคนอ้างเหตุผลในการไม่การเดินทางในบางภารกิจที่ไม่ต้องการไปเสมอๆ บางคนอ้างเหตุผลที่ฟังไม่ขึ้นในยามไม่ต้องการทำข่าวนั้นๆ • ชอบอ้อนแหล่งข่าวมากเกินไป

  31. นักข่าวหญิงมองว่าเสียเปรียบเรื่องนักข่าวหญิงมองว่าเสียเปรียบเรื่อง • เสี่ยงต่อการถูกกลวนลามจากแหล่งข่าวชาย • ความคล่องตัว ความปลอดภัย ในสถานการณ์ที่ล่อแหลม • 1.การลวนลามทางเพศ การคุกคามทางเพศ 2.อันตรายเวลาลงพื้นที่ต่างจังหวัด • เพศเป็นอุปสรรค์อย่างมาก เพราะผู้บริหารเป็นเพศที่ 3 ซึ่งแสดงออกชัดเจนว่าเกลียดผู้หญิง • นักข่าวหญิงสวยๆ มักโดนหลี ,ไม่สวยก็ไปไกลๆๆ • ความสวย ทำให้ถูกลวนลามทางสายตา ถูกช่างภาพผู้ชายเบียดออกนอกวงเวลาถ่ายรูป • นสพ.หัวเล็กแหล่งข่าวไม่ให้ความสำคัญ • เรื่องเสื้อผ้า บางครั้งต้องใส่กระโปรงไม่สะดวก

  32. ข้อด้อย/ปัญหาจากมุมมองหัวหน้าข้อด้อย/ปัญหาจากมุมมองหัวหน้า • นักข่าวหญิงถ้าหากมีครอบครัวจะต้องมีภาระดูแลครอบครัวน้อยลง • งานเสี่ยงอันตราย เช่น สลายม๊อบ ผู้หญิงจะมีความคล่องตัวน้อยกว่าในกรณีต้องวิ่งหนี • งานที่ต้องลงพื้นที่อันตราย เช่น เข้าป่า ขึ้นเขา ลงห้วย • งานที่ต้องนอนค้างอ้างแรมในสถานที่ที่ไม่ปลอดภัย เช่น ในป่า • การคัดเลือกนักข่าวบางครั้งเพศมีส่วนสำคัญโดยเฉพาะงานทำอาชญากรรม • เวลาเจอปัญหาความรักนักข่าวหญิงจะมีปัญหากับการทำงานมากกว่านักข่าวชาย • เปลี่ยนงานง่ายหากที่อื่น ๆ มีข้อเสนอที่ดีกว่า • มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นกรณีทำข่าวต่างจังหวัด

More Related