140 likes | 340 Views
ทุนเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ 2548 ณ ห้องประชุมเดช สนิทวงศ์ สศช. ประเด็นการบรรยาย. ความหมายและองค์ประกอบ สถานภาพทุนทางเศรษฐกิจ
E N D
ทุนเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ 2548 ณ ห้องประชุมเดช สนิทวงศ์ สศช.
ประเด็นการบรรยาย • ความหมายและองค์ประกอบ • สถานภาพทุนทางเศรษฐกิจ • แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อทุนทางเศรษฐกิจและการกำหนดประเด็นการพัฒนาในระยะต่อไป • ความเชื่อมโยงระหว่างทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ • แผนบริหารราชการแผ่นดิน • ภารกิจวันนี้
ความหมายและองค์ประกอบความหมายและองค์ประกอบ แรงงาน/ทรัพยากรมนุษย์ ทุนทางกายภาพ ทุนเศรษฐกิจ Intangible capital ทุนหรือสินทรัพย์ทางการเงิน
ผลตอบแทนสุทธิการลงทุนต่ำผลตอบแทนสุทธิการลงทุนต่ำ • ระดับวิสาหกิจชุมชนหรือ SMEs • ขาดวิทยาการ นวัตกรรม และการบริหารจัดการที่เหมาะสม ในด้านการผลิต การตลาด และส่งมอบ • การสะสมทุนยังมีน้อยและขาดการบริหารจัดการภาคการเงิน และ • ระดับรากหญ้า • รายได้น้อย • เงินออมไม่พอสร้างทุน • โอกาสในการใช้ประโยชน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่เต็มที่ สถานภาพทุนทางเศรษฐกิจ ระดับประเทศ • คุณภาพทุนต่ำ • การใช้ทุนขาดประสิทธิภาพ • การพัฒนานวัตกรรม S&T ยังมีน้อย ต้องพึ่งพาต่างชาติ • การพัฒนาตลาดเงินและตลาดทุนไม่สมดุล
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง...แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง... ศตวรรษแห่งเอเซีย เศรษฐกิจและสังคมฐานความรู้ เทคโนโลยี 5 บริบทของการเปลี่ยนแปลง สังคมผู้สูงอายุ ปัญหาการออม และผลิตภาพการผลิต ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจการเงินโลก ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและพลังงานทางเลือก สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รูปแบบการบริโภค โอกาสจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภค
เพิ่มรายได้เพื่อเสริมสร้างสวัสดิการสังคมเพิ่มรายได้เพื่อเสริมสร้างสวัสดิการสังคม ทุนเศรษฐกิจ ทุนสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ เป็นปัจจัยสำคัญของความสุขประชาชนและเป็นฐาน value creation ของเศรษฐกิจ ดูแลทรัพยากรให้ใช้ประโยชน์คุ้มค่า & ยั่งยืน ความเชื่อมโยงระหว่างทุน...
คน/แรงงาน (ทักษะ ความรู้ จริยธรรม และคุณธรรม) • ทรัพยากรธรรมชาติ • วัฒนธรรมและคุณค่าทางวัฒนธรรม • องค์ความรู้พื้นฐานของท้องถิ่น • เอกลักษณ์ความเป็นไทย“Thainess” การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคเป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้ถึงโอกาสของธุรกิจและความสามารถในการแข่งขันของเศรษฐกิจที่ต้องปรับตัวให้เสนอสินค้าและบริการที่เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคซึ่งเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ทุนทรัพยากรเดิมที่มีอยู่ • ตอบสนองความต้องการสินค้าและบริการใหม่ในตลาด • ผลตอบแทนที่คุ้มค่าจากการ ลงทุนสำหรับเจ้าของทุนและเจ้าของวัตถุดิบ • ต่อยอดการสะสมทุนอย่างต่อเนื่อง • การออกแบบการสร้างแบรนด์ สำหรับสินค้าและบริการ • การสร้างมูลค่า / คุณค่าสินค้า • การลงทุนอย่างเหมาะสมในทุนทั้ง 3 ประเภท (เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม) + • องค์ความรู้ • การบริหารจัดการ • การดำเนินนโยบาย เพื่อสนับสนุนให้เกิด • การจัดสรรทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีใหม่ นวัตกรรม
แผนบริหารราชการแผ่นดินแผนบริหารราชการแผ่นดิน 1. ทุนทางกายภาพ • การปรับโครงสร้างเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ • การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม • การพัฒนาโลจีสติกส์และโครงสร้างพื้นฐาน • การบริหารการเงินการคลังเพื่อการจัดสรรทุนให้ทั่วถึง • การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนประชาสังคม • การขจัดความยากจน • การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2. ทุนการเงิน • ส่งเสริมให้สถาบันการเงินและตลาดเงินทุนมีธรรมาภิบาลตามมาตรฐานสากล • ส่งเสริมการออมของประเทศ สร้างวินัยในการใช้จ่ายของภาคครัวเรือนให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม • พัฒนาตลาดทุนให้เป็นแหล่งระดมทุนระยะยาวขององค์กรธุรกิจทุกขนาด • สร้างความเข้มแข็งและโปร่งใสให้กับตลาดเงิน • สนับสนุนให้ภาคธุรกิจ/ประชาชนมีโอกาสและช่องทางที่เข้าถึงแหล่งเงินทุน • ยกระดับกองทุนหมู่บ้านที่มีความพร้อมให้เป็นธนาคารหมู่บ้าน
3. Intangible assets พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยใช้ฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม โดยมีกลยุทธ์หลักดังนี้ • ผลักดัน R&D และขับเคลื่อนนวัตกรรม • จัดตั้งและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้าน S&T รวมทั้งการวิจัยพื้นฐานและการให้บริการทางวิทยาศาสตร์ไปสู่ภูมิภาค • ส่งเสริมการต่อยอดภูมิปัญญา และความเป็นไทย • ผลักดันให้มีการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาของคนไทย และการนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ • สร้างสภาพแวด ล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สร้างสรรค์ • พัฒนาระบบบริหารด้าน S&T ให้มีเอกภาพทั้งระดับปฏิบัติและนโยบาย
4. แรงงาน/ทรัพยากรมนุษย์ • สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมในการแข่งขันของประเทศ • อนุรักษ์ สืบทอดประเพณี วัตนธรรมที่ดีงาม และพัฒนาภูมิปัญญา • เสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่างครบวงจรและมีคุณภาพ • เสริมสร้างความมั่นคงของชีวิตและสังคม • เตรียมความพร้อมแก่สังคม เพื่อให้ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศ
ภารกิจวันนี้... • สร้างความเข้าใจร่วมกันในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 • แสวงหาแนวทางเสริมสร้างทุนเศรษฐกิจ • สร้างความชัดเจนในบทบาทภาคีการพัฒนา
Thank you.... www.nesdb.go.th