830 likes | 1.01k Views
โครงการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาระยะที่สาม. วันที่ 26 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องประชุม ชั้น 9 สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ดร. วรรณา เต็มสิริพจน์ และคณะ. 1. 1. ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ขั้นตอนการคำนวณต้นทุนและเกณฑ์ในการปันส่วน
E N D
โครงการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาระยะที่สามโครงการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาระยะที่สาม วันที่ 26 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องประชุม ชั้น 9 สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ดร. วรรณา เต็มสิริพจน์ และคณะ 1 1
ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ขั้นตอนการคำนวณต้นทุนและเกณฑ์ในการปันส่วน ผลการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาระยะที่สาม สาระการนำเสนอ 2
ที่มาของโครงการ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้ผลักดันให้มีการศึกษาการคิดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษา โดยการศึกษาครั้งแรกในปี 2544 ซึ่งเป็นการศึกษาเฉพาะมหาวิทยาลัยของรัฐ 24 แห่ง การศึกษาระยะที่สองในปี 2547 โดยเพิ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (ในขณะนั้น) และมหาวิทยาลัยสงฆ์ สำหรับการศึกษาระยะที่สามนี้ มีการขยายขอบเขตการศึกษาเพิ่มขึ้นโดยรวมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสมัครใจของสถาบันอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชนที่เข้าร่วมโครงการ (Voluntary based study) 3
ซึ่งทั้งหมดนี้คำนวณจากพื้นฐานข้อมูลและวิธีการคำนวณที่เป็นเอกภาพบนฐานเดียวกัน โดยคำนึงถึงค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา (Unit cost) ที่เป็นค่าใช้จ่ายเต็ม (Full costs) ซึ่งได้มาจากการพิจารณาทั้งงบประมาณแผ่นดินและงบรายได้ของมหาวิทยาลัย ที่มาของโครงการ (ต่อ) 4
วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน 2) เพื่อรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลการศึกษาค่าใช้จ่ายของกิจกรรมด้านการวิจัย การบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 3) เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับหน่วยงานและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องการคิดค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา รวมทั้งเตรียมความพร้อมให้กับหน่วยงานในการจัดระบบฐานข้อมูลทางการเงิน 5
ขอบเขตการศึกษา ข้อมูลรายจ่ายจากเงินงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ ข้อมูลรายจ่ายของทุกแผน แต่การคำนวณต้นทุนต่อหน่วยนักศึกษา เฉพาะการจัดการศึกษา (รวมโครงการปกติและโครงการพิเศษ) ข้อมูลจ่ายจริง ของงบดำเนินการ ไม่รวมงบลงทุน 6
ขอบเขตการศึกษา (ต่อ) สถานศึกษาและช่วงเวลาที่ศึกษา 7
ขอบเขตการศึกษา (ต่อ) ข้อมูลนักศึกษาจริง ข้อมูลนักศึกษา FTES ปรับน้ำหนักบัณฑิตศึกษา เท่ากับปริญญาตรี โดยบัณฑิตศึกษา คูณ 1.5 ข้อมูลนักศึกษา โครงการปกติ โครงการพิเศษ รูปแบบการปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลางไปสู่คณะ กระจายตามหัวนักศึกษา กระจายบุคลากร กระจายตามพื้นที่ กระจายแบบผสม 8
ขั้นตอนการคำนวณต้นทุนขั้นตอนการคำนวณต้นทุน ขั้นตอนการคำนวณต้นทุน 9
งปม. แผ่นดิน ค่าใช้จ่าย งปม. เงินรายได้ แผนงานผลิตบัณฑิต แผนงานสนับสนุนฯ แผนงานทำนุบำรุงศิลปะฯ แผนงานวิจัยและวิชาการ แผนงานบริการวิชาการ ค่าใช้จ่ายทางตรง (คณะ) ค่าใช้จ่ายทางอ้อม (ส่วนกลาง) งบลงทุน งบลงทุน งบดำเนินการ งบดำเนินการกาสร • ค่าใช้จ่ายบุคลากร • หมวดเงินเดือน • หมวดค่าจ้างประจำ • หมวดค่าจ้างชั่วคราว • ค่าใช้จ่ายดำเนินการ • หมวดค่าตอบแทน • หมวดค่าใช้สอย • หมวดค่าวัสดุ • หมวดเงินอุดหนุน • หมวดรายจ่ายอื่น • ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย FTES ทางอ้อม ปันเงินส่วนกลาง ให้คณะ ตามจำนวน FTES ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย FTES ทางตรง ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย FTES ทางอ้อม ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ของคณะ ขั้นตอนการคำนวณต้นทุน 10
เกณฑ์การปันส่วน วิธีการปันส่วนค่าใช้จ่ายส่วนกลางมายังคณะ 1) การปันส่วนโดยใช้ฐานจำนวนบุคลากร ค่าใช้จ่ายกองการเจ้าหน้าที่ --> จำนวนบุคลากร ค่าใช้จ่ายกองการเจ้าหน้าที่X จำนวนบุคลากรคณะ จำนวนบุคลากรทั้งหมด 11
เกณฑ์การปันส่วน (ต่อ) 2) การปันส่วนโดยใช้ฐานจำนวนนักศึกษาเต็มเวลา (FTES) ค่าใช้จ่ายสำนักหอสมุด จำนวนนักศึกษา FTES ค่าใช้จ่ายสำนักหอสมุด X จำนวนน.ศ. FTES คณะนั้น จำนวนน.ศ. FTES ทั้งหมด 12
เกณฑ์การปันส่วน (ต่อ) การปันส่วนโดยใช้ฐานของขนาดพื้นที่ ค่าใช้จ่ายของกองอาคารสถานที่ จำนวนพื้นที่ ค่าใช้จ่ายของกองอาคารสถานที่ X จำนวนพื้นที่คณะนั้น จำนวนพื้นที่ทั้งหมด 13
เกณฑ์การปันส่วน (ต่อ) การปันส่วนโดยใช้เกณฑ์ผสมผสาน คือ ค่าใช้จ่ายหรือหน่วยงาน ที่ไม่เข้าข่ายการปันข้อ 1 – 3 เช่น กองแผนงาน ให้ใช้อัตราส่วนที่เหมาะสมของวิธีการในข้อ 1 – 3 เป็นฐานคำนวณ เช่น 40% ของฐานบุคลากรในคณะ + 30% ของฐานจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาของคณะ + 30% ของฐานพื้นที่ของคณะ ซึ่งตัวเลขสัดส่วนดังกล่าวอาจ เปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของสถาบัน หรือหากมีฐานคิดอื่นๆ โปรดระบุ 14
วิเคราะห์แยกตามสาขา / กลุ่มสาขา ดังนี้ Cluster1เป็นกลุ่มสาขาทางด้านสังคมศาสตร์และ ศิลปศาสตร์ โดยมีสาขาย่อย 5 สาขาดังนี้ 1.1 นิติศาสตร์ / รัฐศาสตร์ 1.2 การจัดการ / บริหารธุรกิจ / เศรษฐศาสตร์ 1.3 สังคมศาสตร์ / มนุษยศาสตร์ / นิเทศศาสตร์ 1.4 ศิลปศาสตร์ / อักษรศาสตร์ 1.5 ศึกษาศาสตร์ / ครุศาสตร์ 15 15
วิเคราะห์แยกตามสาขา / กลุ่มสาขา (ต่อ) Cluster2 เป็นการเรียนการสอนทางด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ แบ่งเป็น 2 สาขาย่อย ดังนี้ 2.1 ศิลปกรรมศาสตร์ 2.2 สถาปัตยกรรมศาสตร์ Cluster3 เป็นการเรียนการสอนทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ แบ่งเป็น 2 สาขาย่อย ดังนี้ 3.1 วิศวกรรมศาสตร์ / ครุศาสตร์อุตสาหกรรม 3.2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 16 16
วิเคราะห์แยกตามสาขา / กลุ่มสาขา (ต่อ) Cluster4 เป็นการเรียนการสอนทางด้านเกษตรศาสตร์ เป็นหลัก คือ 4.1 เกษตรศาสตร์ / ประมง / ทรัพยากรธรรมชาติ Cluster5 เป็นการเรียนการสอนทางด้านบริการ สาธารณสุขศาสตร์ แบ่งเป็น 3 สาขาย่อย ดังนี้ 5.1 พยาบาลศาสตร์ 5.2 เภสัชศาสตร์ 5.3 เทคนิคการแพทย์ / สาธารณสุข / สหเวชศาสตร์ 17 17
วิเคราะห์แยกตามสาขา / กลุ่มสาขา (ต่อ) Cluster6 เป็นการเรียนการสอนทางด้านการบริการทางการแพทย์ โดยมีสาขาย่อย 3 สาขาดังนี้ 6.1 แพทยศาสตร์ (แยกวิเคราะห์ โดย Medical Schools Consortium ) 6.2 สัตวแพทยศาสตร์ 6.3 ทันตแพทยศาสตร์ 18 18
สถาบันอุดมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการแบ่งตามประเภทมหาวิทยาลัยสถาบันอุดมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการแบ่งตามประเภทมหาวิทยาลัย จากเดิมที่แจ้งความประสงค์เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 106 แห่ง 19
ผลการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาระยะที่สามผลการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาระยะที่สาม 20 20
ภาพรวมค่าใช้จ่ายและค่าใช้จ่ายจำแนกตามแผนงานของสถาบันอุดมศึกษารัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ปีงบประมาณ 2549 21 21
ภาพรวมรายจ่ายจริงของ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำแนกตามสถาบัน ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 61,185.11 ล้านบาท หมายเหตุ ปี 2549 มีจำนวน มหาวิทยาลัยรัฐ และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 80 แห่ง
ภาพรวมรายจ่ายจริงของ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำแนกตามแผนงาน ค่าใช้จ่ายทั้งหมด 61,185.11 ล้านบาท หมายเหตุ ปี 2549 มีจำนวน มหาวิทยาลัยรัฐ และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 80 แห่ง
ภาพรวมรายจ่ายจริงของ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำแนกเงินแผ่นดินและเงินรายได้ หน่วย : บาท หมายเหตุ จำนวนมหาวิทยาลัยที่สามารถจำแนกเงินงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ ม.รัฐ 23 แห่ง ม.ราชภัฏ 31 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 7 แห่ง สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 17แห่ง และม.สงฆ์ 2 แห่ง
ภาพรวมรายจ่ายจริงของ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แผนงานผลิตบัณฑิต หน่วย : บาท หมายเหตุ จำนวนมหาวิทยาลัยแต่ละสถาบัน ม.รัฐ 23 แห่ง ม.ราชภัฏ 31 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 7 แห่ง สถาบันอุดมศึกษาเอกชน 17 แห่ง และม.สงฆ์ 2 แห่ง
ภาพรวมงบดำเนินการของ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน จำแนกตามแผนงาน หน่วย :ร้อยละ หมายเหตุ ปี 2549 มีจำนวน มหาวิทยาลัยรัฐ และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 80 แห่ง
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษา มหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง/ ราชมงคล/ราชภัฏ/เอกชน ปี 2549 27 27
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษา FTES เชิงเปรียบเทียบ ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษา FTES ม.26 : เอกชน : ราชมงคล : ราชภัฏ = 3.7 : 1.9 : 1.7 : 1 ม.26 : เอกชน = 1.9 : 1 ค่าใช้จ่ายบุคลากรต่อหน่วยนักศึกษา FTES ม.26 : เอกชน : ราชมงคล : ราชภัฏ = 2.8 : 1.7 : 1.6 : 1 ม.26 : เอกชน = 1.6 : 1 ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อหน่วยนักศึกษา FTES ม.26 : เอกชน : ราชมงคล : ราชภัฏ = 4.9 : 2.2 : 1.8 : 1 ม.26 : เอกชน = 2.3 : 1 28
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ2549 หน่วย : บาท/FTES (65%) (61%) (55%) (83%) (45%) (56%) (74%) (68%) (53%) (47%) (49%) (44%) (58%) (58%) (42%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 10/23 แห่ง ม.ราชภัฏ 30/31 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 5/7 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 15/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 29
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ2549 สาขา 1.1 นิติศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (61%) (67%) (63%) (33%) (28%) (37%) (28%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 6/23 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 7/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 30
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ2549 สาขา 1.2 การจัดการ / บริหารธุรกิจ / เศรษฐศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (57%) (58%) (80%) (51%) (49%) (44%) (49%) (42%) (46%) (48%) (52%) (64%) (58%) (44%) (44%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 10/23 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 4/7 แห่ง ม.ราชภัฏ 27/31 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 14/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 31
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ2549 สาขา 1.3 สังคมศาสตร์ / มนุษยศาสตร์ / นิเทศศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (63%) (55%) (53%) (47%) (59%) (51%) (49%) (44%) (46%) (54%) (52%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 7/23 แห่ง ม.ราชภัฏ 9/31 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 8/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 32
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ2549 สาขา 1.4 ศิลปศาสตร์ / อักษรศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (75%) (72%) (60%) (57%) (40%) (50%) (50%) (46%) (65%) (54%) (35%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 11/23 แห่ง ม.ราชภัฏ 2/31 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 5/17 ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 33
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 1.5 ศึกษาศาสตร์ / ครุศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (65%) (79%) (56%) (76%) (44%) (55%) (50%) (50%) (71%) (63%) (37%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 7/23 แห่ง ม.ราชภัฏ 27/31 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 34
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 2.1 ศิลปกรรมศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (73%) (87%) (63%) (71%) (62%) (54%) (53%) (53%) (46%) (47%) (71%) (37%) (87%) (75%) (25%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 8/23 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 3/7 แห่ง ม.ราชภัฏ 27/31 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 35
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 2.2 สถาปัตยกรรมศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 6/23 แห่ง ส่วนใน( ) ร้อยละเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 36
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 3.1 วิศวกรรมศาสตร์ / ครุศาสตร์อุตสาหกรรม หน่วย : บาท/FTES (64%) (64%) (86%) (50%) (50%) (77%) (55%) (57%) (51%) (45%) (43%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 13/23 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 3/7 แห่ง และสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 6/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 37
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 3.2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วย : บาท/FTES (70%) (84%) (55%) (54%) (77%) (59%) (46%) (61%) (59%) (41%) (41%) (64%) (61%) (56%) (44%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 15/23 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 3/7 แห่ง และม.ราชภัฏ 6/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 38
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 4.1 เกษตรศาสตร์ / ประมง / ทรัพยากรธรรมชาติ หน่วย : บาท/FTES (67%) (67%) (59%) (41%) (72%) (73%) (89%) (62%) (73%) (58%) (38%) (42%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 15/23 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 3/7 แห่ง และม.ราชภัฏ 27/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 39
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 5.1 พยาบาลศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (76%) (37%) (63%) (76%) (71%) (77%) (24%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 7/23 แห่ง และม.เอกชน 3/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 40
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 5.2 เภสัชศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (80%) (70%) (55%) (45%) (64%) (64%) (36%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 6/23 แห่ง และม.เอกชน 1/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 41
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ2549 สาขา 5.3 เทคนิคการแพทย์ / สาธารณสุข / สหเวชศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (72%) (69%) (51%) (49%) (64%) (48%) (36%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 8/23 แห่ง และม.เอกชน 2/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 42
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 6.2 สัตวแพทยศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES (72%) (66%) (57%) (43%) (53%) (47%) (53%) (50%) (86%) (50%) (49%) หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 4/23 แห่ง ม.ราชมงคลและส.ปทุมวัน 1/7 แห่ง และม.เอกชน 2/17 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 43
เปรียบเทียบงบดำเนินการต่อหน่วยนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีงบประมาณ 2549 สาขา 6.3 ทันตแพทยศาสตร์ หน่วย : บาท/FTES หมายเหตุ ปี 2549 จำนวน ม.ที่สามารถเปรียบเทียบได้มี ม.รัฐ 4/23 แห่ง ส่วนใน ( ) ร้อยละของเงินนั้นๆเมื่อเทียบกับงบดำเนินการรวม และ ร้อยละของงบแผ่นดินเทียบกับงบดำเนินการรวม 44
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษา จำแนกตามสาขาวิชา ของมหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง ปีงบประมาณ 2546-2549 45 45
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง หน่วย : บาท/FTES กลุ่มที่ 1 การเรียนการสอนด้านสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2546-2549 46 46
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง หน่วย : บาท/FTES กลุ่มที่ 2 การเรียนการสอนด้านศิลปกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2546-2549 47 47
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง หน่วย : บาท/FTES กลุ่มที่ 3 การเรียนการสอนด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ 4 การเรียนการสอนด้านเกษตรศาสตร์ หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2546-2549 48 48
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง หน่วย : บาท/FTES กลุ่มที่ 5 การเรียนการสอนด้านการบริการสาธารณสุข หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2546-2549 49 49
ค่าใช้จ่ายต่อหน่วยนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรัฐ 26 แห่ง หน่วย : บาท/FTES กลุ่มที่ 6 การเรียนการสอนด้านการบริการทางการแพทย์ หมายเหตุ ปีงบประมาณ 2546-2549 50 50