490 likes | 718 Views
เงินอุดหนุน ปี 2552 (134,584.42 ล้านบาท). 1. เงินอุดหนุนทั่วไป (104,099.79 ล้านบาท). 1. เงินอุดหนุนตามอำนาจหน้าที่ 57,233.60 2. เงินอุดหนุนที่เคยกำหนดวัตถุประสงค์ 46,866.19 - อาหารเสริม (นม) - อาหารกลางวัน ฯลฯ.
E N D
เงินอุดหนุน ปี 2552 (134,584.42 ล้านบาท) 1. เงินอุดหนุนทั่วไป (104,099.79 ล้านบาท) 1. เงินอุดหนุนตามอำนาจหน้าที่ 57,233.60 2. เงินอุดหนุนที่เคยกำหนดวัตถุประสงค์ 46,866.19 - อาหารเสริม (นม) - อาหารกลางวัน ฯลฯ 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ(30,484.63 ล้านบาท)
เงินอุดหนุน ปี 2553 (123,988.99 ล้านบาท) 1. เงินอุดหนุนทั่วไป (74,271.74 ล้านบาท) 1. เงินอุดหนุนตามอำนาจหน้าที่ 29,060.63 2. เงินอุดหนุนที่เคยกำหนดวัตถุประสงค์ 45,211.11 - อาหารเสริม (นม) - อาหารกลางวัน ฯลฯ 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ(49,717.25 ล้านบาท)
เงินอุดหนุน ปี 2554 (158,375.43 ล้านบาท) 1. เงินอุดหนุนทั่วไป (80,028.99 ล้านบาท) 1. เงินอุดหนุนตามอำนาจหน้าที่ 52,062.63 2. เงินอุดหนุนที่เคยกำหนดวัตถุประสงค์ 27,966.36 - อาหารเสริม (นม) - อาหารกลางวัน ฯลฯ 2. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ(158,375.43 ล้านบาท)
เงินอุดหนุนด้านการศึกษาท้องถิ่น ปี2553 วงเงินทั้งสิ้น 46,756.85 ล้านบาท เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 16,863.44 1. เงินเดือนครู 9,892.84 2. เรียนฟรี 15 ปี 2,881.41 3. ค่ารักษาพยาบาลครู 500.00 4. ค่าเช่าบ้านครู 80.00 5. บำเหน็จบำนาญครู 1,743.61 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (กรมศาสนา) 1,765.58 เงินอุดหนุนทั่วไป29,893.41 1. อาหารเสริมนม 11,287.49 2. อาหารกลางวัน 13,030.81 3. บริหารสนามกีฬา 134.59 4. ส่งเสริมศักยภาพการศึกษา ท้องถิ่น 368.65
เงินอุดหนุนด้านการศึกษาท้องถิ่น ปี2554 วงเงินทั้งสิ้น 49,919.44 ล้านบาท เงินอุดหนุนทั่วไป26,757.55 1. อาหารเสริมนม 11,040.88 2. อาหารกลางวัน 15,252.96 3. บริหารสนามกีฬา 95.06 4. ส่งเสริมศักยภาพการศึกษา ท้องถิ่น 368.65 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 23,161.39 1. เงินเดือนครู 9,892.84 2. เรียนฟรี 15 ปี 2,942.57 3. ค่ารักษาพยาบาลครู 500.00 4. ค่าเช่าบ้านครู 80.00 5. บำเหน็จบำนาญครู 1,543.61 6. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6,454.40 7. ก่อสร้างอาคารเรียน 1,251.67 8. ครุภัณฑ์การศึกษา 101.58
เงินอุดหนุน ปี 54 (158,375.430 ล้านบาท) 1 เงินอุดหนุนทั่วไป(80,028.998 ล้านบาท) 1. ตามอำนาจหน้าที่ 52,062.629 2.บริการสาธารณสุข 890.000 3. ชดเชยค่าโดยสารรถไฟ 0.800 4. บริหารสนามกีฬา 95.058 5.ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น 368.646 6.อาหารเสริมนม 11,040.879 7. อาหารกลางวัน 15,252.962 8. เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ 223.626 9.ศูนย์บริการทางสังคม 3.500 10.สถานสงเคราะห์คนชรา 90.898
เงินอุดหนุน ปี 54 (158,375.430 ล้านบาท) 2 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ(78,346.432 ล้านบาท) 1. ถ่ายโอนบุคลากร 1,353.209 2.เงินเดือนครู 11,226.815 3. เรียนฟรี 15 ปี 2,942.574 4.ค่ารักษาพยาบาลครู 500.000 5.ค่าเช่าบ้าน 80.000 6.บำเหน็จบำนาญครู 1,543.610 7. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6,454.397 8. ก่อสร้างอาคารเรียนและ ศพด. 312.918 9.ครุภัณฑ์โรงเรียน 101.581 10.ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานภาคใต้ 254.070 11.เบี้ยคนพิการ 4,739.580 12.สูบน้ำด้วยไฟฟ้า 906.562 13. แผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม 1,275.118 14.แก้ปัญหาน้ำนครราชสีมา 205.018 15.ประกันรายได้ผู้อายุ 31,068.312 16. อสม. 7,240.558 17. ปรับลด/ปรับเพิ่ม 8,142.111
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (ด้านการศึกษา) - 3. การจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเรียนฟรี15 ปี - ค่ารายหัว - ค่าหนังสือเรียน - อุปกรณ์การเรียน - เครื่องแบบนักเรียน - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. ค่าจัดการเรียนการสอน (รายหัว) - อนุบาล 850 บาท/ภาคเรียน - ประถมศึกษา 950 บาท/ภาคเรียน - ม.ต้น 1,750 บาท/ภาคเรียน - ม.ปลายสายสามัญ 1,900 บาท/ภาคเรียน
ค่าจัดการเรียนการสอน (รายหัว) ระดับ ม.ปลาย สายอาชีพ(อาชีวะ) • สาขาช่าง 3,250 บาท/ภาคเรียน • สาขาคหกรรม 2,750 บาท/ภาคเรียน • สาขาพาณิชยกรรม 2,450 บาท/ภาคเรียน
รายหัวส่วนเพิ่ม (Top up) - ประถมศึกษา (นักเรียนไม่เกิน 120 คน) 2,50 บาท/ภาคเรียน - มัธยมศึกษาตอนต้น (นักเรียนไม่เกิน 300 คน) 500 บาท/ภาคเรียน
เรียนฟรี 15 ปี 3.2 ค่าหนังสือเรียน - อนุบาล คนละ 200 บาท/ปี - ป.5 คนละ 519 บาท/ปี - ป.1 คนละ 333 บาท/ปี - ป.6 คนละ 356 บาท/ปี - ป.2 คนละ 433 บาท/ปี - ม.1 คนละ 278 บาท/ปี - ป.3 คนละ 274 บาท/ปี - ม.2 คนละ 678 บาท/ปี - ป.4 คนละ 316 บาท/ปี - ม.3 คนละ 168 บาท/ปี
เรียนฟรี 15 ปี 3.2 ค่าหนังสือเรียน (ต่อ) - ม.4 คนละ 1,451 บาท/ปี - ม.5 คนละ 967 บาท/ปี - ม.6 คนละ 764 บาท/ปี - อาชีวศึกษาทุกสาขาวิชา คนละ 1,000 บาท/ภาคเรียน
เรียนฟรี 15 ปี 3.3 เครื่องแบบนักเรียน (คนละ 2 ชุด จ่ายเป็นเงินสด) - อนุบาลศึกษา คนละ 300 บาท/ปี - ประถมศึกษา คนละ 360 บาท/ปี - มัธยมศึกษาตอนต้น คนละ 450 บาท/ปี - ม.ปลายสายสามัญ คนละ 500 บาท/ปี - ม.ปลายสายอาชีวศึกษา คนละ 900 บาท/ปี
เรียนฟรี 15 ปี 3.4 อุปกรณ์การเรียน - อนุบาล 100 บาท/ภาคเรียน - ประถมศึกษา 195 บาท/ภาคเรียน - ม.ต้น 210 บาท/ภาคเรียน - ม.ปลายสายสามัญ 230 บาท/ภาคเรียน - ม.ปลายสายอาชีวศึกษา 230 บาท/ภาคเรียน
เรียนฟรี 15 ปี 3.5 ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (จ่ายเป็นเงินสด) - อนุบาล 215 บาท/ภาคเรียน - ประถมศึกษา 240 บาท/ภาคเรียน - ม.ต้น 440 บาท/ภาคเรียน - ม.ปลายสายสามัญ 475 บาท/ภาคเรียน - ม.ปลายสายอาชีวศึกษา 475 บาท/ภาคเรียน
การจัดสรรเงินเรียนฟรี15 ปี ตามหนังสือด่วนมากที่ มท0893.3/ว2224 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2553 1. กำหนดให้เบิกจ่าย ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. 53-31 มี.ค.54 2. ให้ใช้แผนการใช้จ่ายเงินเป็นเอกสารประกอบการเบิกจ่าย 3. กรณีเป็นโรงเรียนถ่ายโอน ให้เบิกหักผลักส่งลงโรงเรียน 4. กรณีเป็นโรงเรียนที่ อปท. ตั้งเอง ให้ดำเนินการดังนี้ 4.1 ถ้าโรงเรียนพร้อม ให้เบิกหักผลักส่งลงโรงเรียนและใช้จ่ายตามแผน(ในข้อ 2) หากมีเงินเหลือจ่ายก็เป็นรายได้ของ โรงเรียน
4.2ถ้าโรงเรียนไม่พร้อม (แต่ไม่ได้หมายความว่าจะไม่พร้อมตลอดไป) ให้ อปท. ดำเนินการไปก่อนจนกว่าโรงเรียนจะพร้อม ซึ่งต้องดำเนินการตามแผน(ในข้อ 2) เช่นกัน และต้องเบิกจ่ายเงินให้แล้วเสร็จภายใน 31 มี.ค. 54 หากมีเงินเหลือจ่ายที่ไม่มีหนี้ผูกพันให้ส่งคืนจังหวัด *ห้ามมิให้เบิกหักผลักส่งเงินให้โรงเรียนใกล้วันที่31 มี.ค. 54 โดยมีเจตนาเพื่อไม่ต้องส่งเงินคืนจังหวัด
มท 0893.3/ว 2409 ลว. 19 พ.ย. 2553(เงินเรียนฟรี ปลายปี 53) โรงเรียนได้รับเงินล่าช้า เบิกจ่าย/ก่อหนี้ผูกพัน ไม่ทัน 30 ก.ย. 2553 - ตกเป็นเงินรายได้สะสมของโรงเรียน - กรมฯ กำหนดให้โรงเรียนนำมาใช้ได้ตามวัตถุประสงค์เดิม โดยต้อง (1) ผ่านความเห็นชอบองคณะกรรมการสถานศึกษา (2) ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นผู้อนุมัติ - กรณีไม่มีความจำเป็นต้องใช้แล้ว ให้สถานศึกษาใช้เงินรายได้สะสมตามระเบียบรายได้ฯ ข้อ 12 และ ข้อ 14
การใช้เงินรายได้สะสมของสถานศึกษาการใช้เงินรายได้สะสมของสถานศึกษา • ระเบียบรายได้สถานศึกษาฯ ข้อ 12 • (1) มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายโดยที่มีรายได้ไม่เพียงพอ • (1) คณะกรรมการสถานศึกษาเห็นชอบ • (2) ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติ • 2.ระเบียบรายได้สถานศึกษาฯ ข้อ 14
การใช้เงินรายได้สะสมของสถานศึกษาการใช้เงินรายได้สะสมของสถานศึกษา 2. ระเบียบรายได้สถานศึกษาฯ ข้อ 14 (1) ต้องปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของ อปท. (ข้อ 89) (2) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.4/ว 3161 ลว. 12 ต.ค. 2553
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) 2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1. ค่าตอบแทนและเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว (ครูผู้ดูแลเด็ก) 2. เงินประกันสังคม ร้อยละ 5 3. วัสดุการศึกษารายหัวเด็ก 4. ค่าพาหนะนำเด็กส่งสถานพยาบาล 5. ค่าใช้จ่ายในการศึกษาต่อ ปริญญาตรีของครูผู้ดูแลเด็ก
อาคารเรียนและอาคารประกอบโรงเรียนสังกัด อปท. • 1. อาคารเรียนเด็กเล็ก (สน.ศท.อนุบาล 8) • 2. อาคารเรียน 3 ชั้น (สน.ศท. 3/12) • 3. อาคารเรียน 4 ชั้น (สน.ศท. 4/12) • 4. อาคารอเนกประสงค์ (สน.ศท. ชั้นลอย) • 5. ส้วม (สน.ศท.ส.10)
อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก • 1. สถ.ศพด. 1 • 2. สถ.ศพด. 2 • 3. สถ.ศพด. 3
4.ครุภัณฑ์การศึกษา ปี 2554 มี 7 รายการ ได้แก่ 1. ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 2. ครุภัณฑ์ห้องปฏิบัติการทางภาษา 3. ครุภัณฑ์ห้องวิทยาศาสตร์ 4. ครุภัณฑ์ห้องโสตทัศนูปกรณ์ 5. ห้องเคมี 6. ห้องฟิสิกส์ 7. ห้องชีววิทยา
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา)ปี 2554 1. อาหารเสริม (นม) 2. อาหารกลางวัน 3. สนามกีฬาที่ อปท. รับโอนจาก กกท. 4.ส่งเสริมศักยภาพการศึกษาท้องถิ่น
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) - 1. อาหารกลางวัน 2. ส่งเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาท้องถิ่น ได้แก่ 2.1 ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงหลักสูตร 2.2 ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่ออินเตอร์เนต 2.3 โรงเรียนเป็นฐาน 2.4 ค่าพัฒนาบุคลากร
เงินอุดหนุนทั่วไป (ด้านการศึกษา) - ให้ อปท. ตั้งงบประมาณ โอนลงสถานศึกษา - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ - ประเภทรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ - โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารสถานศึกษา
อาหารเสริม (นม) ปี 2554 - จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็ก ป.1 - ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2553 - จัดสรรอัตราคนละ 7 บาท
อาหารเสริม (นม) ปี 2554 • - ร.ร.สพฐ. จำนวน 260 วัน • ร.ร.อปท. จำนวน 260 วัน • กศน. (ศูนย์การเรียนชุมชนบนพื้นที่ราบสูง) จำนวน 280 วัน • กรมสามัญศึกษา (ศึกษาสงเคราะห์ /ศึกษาพิเศษ) จำนวน 280 วัน • กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จำนวน 280 วัน • ศูนย์เด็กเล็ก(อปท., สปช., พช., กรมศาสนา)จำนวน 280 วัน
อาหารกลางวัน ปี 2554 - จัดสรรให้ เด็กเล็ก เด็กอนุบาล และเด็ก ป.1 - ป.6 - จำนวนเด็ก ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2553 - จัดสรรอัตราคนละ 13 บาท
อาหารกลางวัน (ต่อ) ปี 2554 • - ร.ร.สพฐ. จำนวน 200 วัน • ร.ร.อปท. จำนวน 200 วัน • กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน(ตชด.) จำนวน 200 วัน • กศน. (ศูนย์การเรียนชุมชนบนพื้นที่ราบสูง) จำนวน 280 วัน • กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จำนวน 280 วัน • ศูนย์เด็กเล็ก(อปท., สปช., พช., กรมศาสนา)จำนวน 280 วัน
อาหารกลางวัน (ต่อ) ปี 2554 หลักเกณฑ์การจัดสรร 1. จัดสรร 100 % 1.1 โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ 1.2 โรงเรียนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา 1.3 โรงเรียนที่มีเด็กไม่เกิน 120 คน (อนุบาล - ป.6)
อาหารกลางวัน (ต่อ) ปี 2554 1.4 โรงเรียน ตชด. 1.5 กศน. (ศูนย์การเรียนชุมชนบนพื้นที่ราบสูง) 1.6 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - รับโอนจากกรมพัฒนาชุมชน - รับโอนเด็ก 3 ขวบจากโรงเรียน สปช. - รับโอนงบประมาณจากกรมการศาสนา - อปท.จัดตั้งขึ้นใหม่
อาหารกลางวัน (ต่อ) ปี 2554 หลักเกณฑ์การจัดสรร (ต่อ) 2. จัดสรร 85 % (สังกัด สพฐ. และ อปท.) - โรงเรียนที่มีเด็กมากกว่า 120 คน (อนุบาล - ป.6)
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 1. ค่าปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา - โรงเรียนละ 15,000 บาท 2. ค่าเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูง - โรงเรียนละ 7,200 บาท 3. โครงการแข่งขันกีฬานักเรียนในสังกัด อปท. - อปท.เจ้าภาพระดับภาค 5 ภาค ๆ ละ 4,000,000 บาท - อปท.เจ้าภาพระดับประเทศ 6,000,000 บาท
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 4. โครงการประชาสัมพันธ์การจัดการศึกษาท้องถิ่น - อปท.เจ้าภาพระดับภาค 5 ภาค ๆ ละ 1,000,000 บาท - อปท.เจ้าภาพระดับประเทศ 5,000,000 บาท
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 5. โครงการรณรงค์เพื่อป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน - อปท.ที่มีโรงเรียน อปท.ละ 15,700 บาท - ค่าพัฒนาเจ้าหน้าที่ อปท.ละ 3,000 บาท - ค่าพัฒนาครูแกนนำ อปท.ละ 3,000 บาท 6. โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาเด็กและเยาวชน - อปท.เจ้าภาพ จำนวน 5 ภาค ๆ ละ 1,600,000 บาท
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 7. โครงการสอนเด็กเร่ร่อนในเขตเมือง - จัดสรรให้ อปท.ที่เข้าร่วมโครงการ (1) ค่าจ้างครูอาสา (วุฒปริญญาตรี) (2) ค่าวัสดุการศึกษา อปท.ละ 4,000 บาท (3) ค่าพัฒนาบุคลากร อปท.ละ 4,000 บาท
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 8. โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน - โรงเรียนใหม่ (ปี 2554) แห่งละประมาณ 1 ล้านบาท - โรงเรียนเดิมที่ได้คัดเลือก แห่งละประมาณ 2 แสนบาท 9. ค่าพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา - ข้าราชการครูโรงเรียนสังกัด อปท. คนละ 3,000 บาท - ครูผู้ดูแลเด็ก คนละ 3,000 บาท
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 10. โครงการลูกเสือและเนตรนารีสังกัด อปท. - อปท.เจ้าภาพ 4 ภาค ๆ ละ 750,000 บาท 11. โครงการประชุมคณะกรรมการประสานงานวิชาการ - ระดับส่วนกลาง อปท.เจ้าภาพ 620,000 บาท - ระดับกลุ่มการศึกษา อปท.เจ้าภาพ 240,000 บาท * มี 12 กลุ่มการศึกษา
เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่นเงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดศึกษาท้องถิ่น 12. โครงการส่งเสริมการศึกษา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ - สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น จะแจ้งตัวเลขงบประมาณให้ อปท.ที่เกี่ยวข้องทราบโดยตรงอีกครั้ง 13. โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศึกษาท้องถิ่น - อปท.เจ้าภาพจัดงานมหกรรมการศึกษาท้องถิ่น
หนังสือสั่งการที่บุคลากรทางการศึกษาควรมีหนังสือสั่งการที่บุคลากรทางการศึกษาควรมี 1. เรื่อง การเบิกจ่ายเงินค่าจ้างเหมาบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มท 0313.4/ว 1452 ลว. 27 พ.ค. 2541) 2. เรื่อง ค่าใช้จ่ายในการจัดงานต่าง ๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มท 0313.4/ว 1347 ลว. 19 พ.ค. 2541) 3. หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินในการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มท 0808.4/ว 2589 ลว. 3 ส.ค. 2547)
หนังสือสั่งการที่บุคลากรทางการศึกษาควรมีหนังสือสั่งการที่บุคลากรทางการศึกษาควรมี 4. เรื่อง แนวทางปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนำเงินรายได้ของสถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2551 (มท 0893.2/ว 1918 ลว. 16 มิ.ย. 2552)
หนังสือสั่งการที่บุคลากรทางการศึกษาควรมีหนังสือสั่งการที่บุคลากรทางการศึกษาควรมี 5. เรื่อง แนวทางการเรียกเก็บเงินค่าบำรุงการศึกษาและค่าใช้จ่ายของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนำเงินรายได้ของสถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2551 (มท 0893.2/ว 2235 ลว. 17 พ.ย. 2552) 5. ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองสวนท้องถิ่น (มท 0808.4/ว 3161 ลว. 12 ต.ค. 2553)