560 likes | 958 Views
ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลอุดรธานี นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์. Case Finding Activities ต . ค . 51 – ก.ค. 52. Case notification of PTB New SS positive. Case notification of PTB SS positive 1 ตุลาคม 2551 – 30 มิถุนายน 2552. ผลงาน TB/HIV ต.ค. 51 – พ.ค. 5 2.
E N D
ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลอุดรธานี นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์
Case notification of PTB SS positive1ตุลาคม 2551 – 30 มิถุนายน 2552
Treatment outcomes of new smear positive TB patients ต.ค. 50 – ธ.ค.50
Treatment outcomes of new smear positive TB patients ม.ค. 51– มี.ค.51
Treatment outcomes of new smear positive TB patients เม.ย. 51– มิ.ย.51
Case notification ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา ปี 2552 ที่รักษาด้วยระบบยา CAT 4
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทยนโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทย นายแพทย์ปราชญ์ บุญยวงศ์วิโรจน์ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทยนโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคของไทย ประเด็นที่ 1 การกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ประเด็นที่ 2 การรับผู้ป่วยวัณโรคปอดระยะแพร่เชื้อรายใหม่ ไว้ รักษาเป็นผู้ป่วยใน ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค ประเด็นที่ 4 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง ประเด็นที่ 5 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปรู้เรื่องวัณ โรคและผู้มีอาการสงสัยมาตรวจวินิจฉัย รวมทั้งความ ร่วมมือในการรักษา
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรคนโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค ประเด็นที่ 1 การกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน โรงพยาบาลอุดรธานีจัดให้มี Mr. TB เป็นผู้รับผิดชอบเฉพาะงานวัณโรคเพื่ออำนวยการกำกับติดตามการดำเนินงานวัณโรคของโรงพยาบาลอุดรธานี ตามแนวทางการดำเนินงานวัณโรคแห่งชาติ ตามคำสั่งเลขที่ 814/2551 ลว. 29 กันยายน 2551 แต่งตั้งให้ • Mr. TB : นพ. เกรียงศักดิ์ เกษมสุพัฒน์ • Hospital TB Co-ordinator : นางสาวช่อกมล รัตนสุรังค์
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) โรงพยาบาลอุดรธานีมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการ ดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์ คำสั่งเลขที่ 814/2551 ลว. 29 กันยายน 2551 ประกอบไปด้วย ประธาน :นายแพทย์เกรียงศักดิ์ เกษมสุพัฒน์ หัวหน้าภาคอายุรกรรม กรรมการ : แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักเทคนิกการแพทย์ และ เจ้าหน้าที่อื่นๆจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์ กำหนดให้มีการประชุม 1 ครั้ง/เดือนเพื่อกำกับดูแล ประสาน และจัดระบบบริการวัณโรคและการประเมินผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลการดูแลรักษาวัณโรค มีการประชุมทุกเดือน
จากการประชุมของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์จากการประชุมของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคและโรคเอดส์ ได้กำหนดแผนที่ยุทธศาสตร์ของการดำเนินงานวัณโรค โดยการพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานนั้นมีเป้าหมายให้ประชาชนที่ป่วยด้วยวัณโรคได้รับการตรวจรักษาอย่างรวดเร็วตามสูตรยามาตรฐานของ NTP และชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันวัณโรค
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) ประเด็นที่ 2 การรับผู้ป่วยวัณโรคปอดระยะแพร่เชื้อรายใหม่ ไว้ รักษาเป็นผู้ป่วยใน • จะรับไว้เป็นผู้ป่วยในเมื่อมี Medical indication ทุกราย มีห้องแยกโรค 4 ห้อง
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) • ผู้ป่วยวัณโรคที่ไม่มี Medical indication และปฏิเสธการ admit จะใช้กลวิธี Admission@home โดยทีมดูแลออกดูแลระบบ Dots ผู้ป่วย M+ ทุกรายวันเว้นวัน ในระยะ 2 สัปดาห์แรก พร้อมกับค้นหาผู้สัมผัสร่วมบ้าน
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) Admission@home กิจกรรม 1. ประชุมเครือข่ายเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชน รวม 33 แห่ง เพื่อชี้แจงนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน( 9 ธ.ค.51)
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) Admission@home กิจกรรม 2. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคโดย ซักถามอาการวัณโรค อาการข้างเคียงของยา และ แนะนำการปฏิบัติตนเมื่อเกิดอาการแพ้ยา ให้สุขศึกษาเรื่องโรค และการรับประทานยาที่ ถูกต้อง และส่งต่อเพื่อพบแพทย์ในรายที่มีปัญหาการแพ้ยา
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) Admission@home กิจกรรม 2. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรค - ค้นหาวัณโรคในผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยตามแบบคัดกรอง (สปสช.) - ประเมินสิ่งแวดล้อมบ้านผู้ป่วยและให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไข - ลงบันทึกในสมุดประจำตัวผู้ป่วยวัณโรคและแบบฟอร์มการเยี่ยมบ้าน แบบประเมินความพึงพอใจของ PT แบบคัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน แบบแผนที่บ้าน PT แบบบันทึกอาการ PT
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track OPDมีจุดคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการไอเรื้อรัง จะได้รับ Mask และใบค้นบัตรด่วนแนบกับใบส่งเอ๊กซ์เรย์
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) ห้องบัตร ค้นOPD card และใบสั่งยาให้ทันทีที่ ช่อง 1
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) เอ็กซ์เรย์ ส่งเอ็กซ์เรย์ทันทีที่ ห้อง 5
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) OPDผู้ป่วยนำ OPD card และ Filmติดต่อเจ้าหน้าที่และเข้าพบแพทย์ได้ทันที
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • Fast Track (ต่อ) คลินิกวัณโรค รับผู้ป่วยวัณโรคขึ้นทะเบียนและจ่ายยา
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • คลินิกวัณโรค ให้บริการทุกวันศุกร์ เวลา 13.00 – 16.00 น. แต่เปิดขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกวันเว้นวันหยุดราชการ
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • คลินิกวัณโรค ให้บริการ One Stop Service - OPD Card และใบสั่งยา : เจ้าหน้าที่ค้นบัตรมาคอย - ยา : เภสัชกรจัดยาเป็น Daily packet และจ่ายยาที่คลินิกวัณโรค
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยวัณโรค • คลินิกวัณโรค - การให้คำปรึกษาเพื่อเจาะเลือดตรวจหาเชื้อ HIV โดยเจ้าหน้าที่คลินิกวัณโรค ให้คำปรึกษาและเจาะเลือด - ตัวอย่างส่งตรวจ เช่น เลือด ให้บริการเจาะเลือดที่คลินิกวัณโรคและ เจ้าหน้าที่นำส่งเลือดและเสมหะให้งานชันสูตร และรับผลการตรวจให้ผู้ป่วยวัณโรค
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) ประเด็นที่ 4 การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มผู้ต้องขัง รณรงค์การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในเรือนจำกลางอุดรธานี ระหว่างวันที่ 21 -27 ตุลาคม 2551
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค (ต่อ) การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง(ต่อ) กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ดำเนินการคัดกรองวัณโรคในผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ทุกราย กลุ่มประชาชนในพื้นที่เสี่ยง - ประเมินพื้นที่เสี่ยงหาอัตราชุกของวัณโรค พบพื้นที่มีความเสี่ยงสูง 3 แห่ง ได้แก่ ต.หนองนาคำ , ต.เชียงยืน และ เทศบาล 8 - ดำเนินการค้นหา โดยจัดอบรม อสม. และให้ อสม.ดำเนินการค้นหาในพื้นที่ของตนเอง
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ)นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ) การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง (ต่อ) กลุ่มผู้สัมผัสร่วมบ้าน ดำเนินการคัดกรองตามแบบฟอร์มการคัดกรองวัณโรค โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ PCU (ตามโครงการพัฒนาการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552) กลุ่มผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจได้แก่ โรคหอบหืด และ COPD กลุ่มอาชีพเสี่ยงได้แก่ อาชีพขับรถรับจ้าง พนักงานเก็บขยะ พนักงานกวาดถนน พนักงานโรงฆ่าสัตว์ ดำเนินการในช่วงสัปดาห์วันวัณโรคโลก
นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ)นโยบายการเร่งรัดงานวัณโรค(ต่อ) ประเด็นที่ 5 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปรู้เรื่องวัณ โรคและผู้มีอาการสงสัยมาตรวจวินิจฉัย รวมทั้งความร่วมมือในการ รักษา โดย - จัดทำคู่มือวัณโรคสำหรับประชาชน - จัดทำเอกสารแผ่นพับ - จัดทำ CD เรื่องวัณโรคแจกทุกสถานีอนามัย/ศสช. - นำความรู้เรื่องวัณโรคเข้าในหลักสูตรการประชุม อสม. - ประชาสัมพันธ์ผ่านเคเบิลประจำท้องถิ่นและทางวิทยุ - รณรงค์เรื่องหน้ากากอนามัย
แผนการดำเนินงาน ปี 2552 1. โครงการพัฒนาการดำเนินงานวัณโรคโรงพยาบาลอุดรธานี (โครงการอนุมัติแล้ว กำลังดำเนินการ งบประมาณ 375,075 บาท ) กิจกรรมหลัก - การติดตามดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่บ้าน กรณี admission@home - จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย วัณโรค และโรคเอดส์ทุกเดือน เพื่อติดตามงานและวางแผน แก้ไขปัญหา - จัดอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ สอ./ศสช. ทุกระดับ 100 %
แผนการดำเนินงาน ปี 2552(ต่อ) 2. โครงการตรวจคัดกรองวัณโรคในพื้นที่ที่มีความชุกของโรคสูง 3 ตำบล คือ ตำบลหนองนาคำ ตำบลเชียงยืนและ เขตพื้นที่เทศบาล 8 (โครงการผ่านแล้ว กำลังดำเนินการ ใช้งบประมาณ 108,000บาท) กิจกรรมหลัก - จัดอบรม อสม. ในพื้นที่ - อสม. ดำเนินการตรวจคัดกรองตามแบบคัดกรอง 3. แผนปรับปรุงสถานที่ คลินิกวัณโรค ( ผ่านการพิจารณางบประมาณแล้ว ตั้งงบประมาณไว้ 900,000)
แผนการดำเนินงาน ปี 2552 ( ต่อ ) 4. แผนพัฒนางานคลินิกวัณโรค เป็น One Stop Service (กำลัง พัฒนาระบบการให้บริการ) 5. แผนการปรับช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยวัณโรค ( ดำเนินการแล้ว ) 6. จัดประชุมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับในโรงพยาบาลด้านการ เฝ้าระวังป้องกันเชื้อวัณโรค ( บรรจุไว้ในแผนงานปีงบฯ 52 ของ IC แล้ว งบประมาณ 40,000 ) 7. แผนปรับปรุงห้องชันสูตร (ผ่านการพิจารณางบประมาณแล้ว งบประมาณ 400,000 ) 8. จัดซื้อเครื่องตรวจเสมหะ (ผ่านการอนุมัติแล้ว งบประมาณ 400000 บาท )
แผนการดำเนินงาน ปี 2552 ( ต่อ ) 9. แผนปรับปรุงสถานที่เก็บเสมหะที่หอผู้ป่วยอายุรกรรม ( ผ่านการพิจารณางบประมาณแล้ว งบประมาณ 200,000 ) 10. รณรงค์ควบคุมวัณโรค วันวัณโรคโลก 24 มี.ค. 52 11. แผนการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อท้องถิ่น เช่น เคเบิล วิทยุ (ดำเนินการแล้ว) 12. อบรม อสม. เชี่ยวชาญ เรื่องวัณโรค ครอบคลุมทั้งอำเภอเมือง (ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว)
แผนการดำเนินงานปี 2552 (ต่อ) 13. นิเทศและติดตามประเมินผลเครือข่ายการดำเนินงานวัณโรค (สอ./ศสช.) ปีละ 2 ครั้ง (กำลังดำเนินการ เริ่ม 10 ก.พ. – 3 มี.ค.52 )และนำผลการประเมินมาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาความดีความชอบ 14. โครงการศึกษาวิจัย 1 เรื่อง (กำลังดำเนินการ) รวมงบประมาณที่ใช้ทั้งสิ้น 2,423,075 บาท
เป้าหมายที่คาดหวัง • ประชาชนอำเภอเมืองอุดรธานีที่ป่วยด้วยวัณโรคได้รับการวินิจฉัยโดยเร็วและได้รับการรักษาด้วยสูตรยามาตรฐานของ NTP ทุกราย • ผู้ป่วยในระยะแพร่เชื้อได้รับการดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด • เจ้าหน้าที่ทำงานอย่างมีความสุข
ความภาคภูมิใจ รางวัลดีเด่นด้านการดำเนินงานควบคุมวัณโรค เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ประจำปี 2551
ปัญหา/อุปสรรค • การคีย์ข้อมูลส่ง สปสช. • แนวทางการแก้ไข คีย์ข้อมูลนอกเวลา • จำนวนผู้ป่วยวัณโรคมีจำนวนมาก ไม่สามารถ • ให้บริการได้ภายในเวลาที่มีคลินิก • แนวทางการแก้ไข ขยายวันให้บริการผู้ป่วยวัณโรค