360 likes | 621 Views
ประชุมพิจารณาหลักเกณฑ์และวิธีกาประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค ครั้งที่ 2/2557. ประเด็นนำเสนอ. รายละเอียดพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะของบุคลากรกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2557 (ที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานในการประชุมเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 57)
E N D
ประชุมพิจารณาหลักเกณฑ์และวิธีกาประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรคครั้งที่ 2/2557
ประเด็นนำเสนอ • รายละเอียดพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะของบุคลากรกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2557 (ที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานในการประชุมเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 57) • ข้อเสนอแนวทางการประเมินสมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค (Functional Competency)
รายละเอียดพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะของบุคลากรกรมควบคุมโรคปีงบประมาณ พ.ศ.2557 (ที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอของหน่วยงานในการประชุมเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 57)
ประเด็นที่มีการทบทวนและปรับแก้ตามข้อเสนอแนะของหน่วยงานในการประชุมเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 57 • ทบทวนและปรับปรุงแก้ไขตั้งแต่ระดับที่ 1 ถึงระดับที่ 5 จำนวน 2 สมรรถนะ คือ • การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity : I) • การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship : R) • ทบทวนและปรับแก้ไขในบางประเด็น เช่น เกณฑ์การประเมิน คำผิด รายชื่อเอกสารอ้างอิง การตัดข้อความให้กระชับ หรือเพิ่มเติมข้อความเพื่อให้มีความชัดเจน จำนวน 7 สมรรถนะ
ปรับปรุงแก้ไขตั้งแต่ระดับที่ 1 ถึงระดับที่ 5 จำนวน 2 สมรรถนะ
C1 การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) คำจำกัดความ : การดำรงตนและประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และจรรยาข้าราชการเพื่อรักษาศักดิ์ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ
C1 การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) • ระดับที่ 1
C1 การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) • ระดับที่ 2
C1 การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) • ระดับที่ 3
C1 การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) • ระดับที่ 4
C1 การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) • ระดับที่ 5
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) คำจำกัดความ :ความสามารถในการแสดงความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับภาษา การใช้จิตวิทยากับการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร สร้างหรือการรักษาความสัมพันธฉันมิตรในทางส่วนตัวและทางด้านสังคมที่ดีระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในงานอย่างใกล้ชิดอย่างมีน้ำใจ ใจเปิดกว้างเป็นพี่น้องกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อส่งผลให้เกิดความราบรื่นในกระบวนการติดต่อสื่อสารเป็นไปได้อย่างดี เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อภารกิจของส่วนราชการ
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) • ระดับที่ 1
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) • ระดับที่ 2
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) • ระดับที่ 3
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) • ระดับที่ 4
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) • ระดับที่ 5
C5 การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) • แนวทางการประเมิน กรณีมีผู้ร่วมประเมินมากกว่า 1 คน ตัวอย่างการประเมิน : นาย ก เป็นข้าราชการระดับปฏิบัติการ ถูกประเมินสมรรถนะการมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship ) โดยผู้ประเมิน ดังนี้ 1) ประเมินตนเอง = พึงพอใจมากที่สุด (5 คะแนน) 2) หัวหน้างาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) 3) เพื่อนร่วมงาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) ดังนั้น ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของนาย ก เท่ากับ 4.3 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมิน แสดงว่านาย ก มีผลการประเมินสมรรถนะการมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง (Relationship) อยู่ที่ระดับ 4 คะแนน จากนั้นผู้ประเมินหลัก (ผู้บังคับบัญชา) นำผลที่ได้จากการร่วมประเมินมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แล้วระบุคะแนนที่ได้ลงในแบบฟอร์ม
ปรับแก้ไขในบางประเด็น เช่น เกณฑ์การประเมิน คำผิด รายชื่อเอกสารอ้างอิง การตัดข้อความให้กระชับ หรือเพิ่มเติมข้อความเพื่อให้มีความชัดเจน จำนวน 7 สมรรถนะ
C2 บริการที่ดี (Service Mind) คำจำกัดความ : ความตั้งใจและความพยายามของบุคลากรทุกระดับในส่วนราชการที่จะให้บริการในหลายรูปแบบแก่ผู้ขอรับบริการจากงานในหน้าที่ราชการของตน หรืองานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยไม่เลือกกลุ่มเป้าหมายซึ่งเกิดจากจิตสำนึกของความเป็นข้าราชการที่ดี
C2 บริการที่ดี (Service Mind) • ระดับที่ 1 – 5 ตัดคำว่า “ค่าเฉลี่ย” ออก
C2 บริการที่ดี (Service Mind) ตัวอย่างการประเมิน : นาย ก เป็นข้าราชการระดับปฏิบัติการ ถูกประเมินสมรรถนะการบริการที่ดี (Service Mind) โดยผู้ประเมิน ดังนี้ 1) ประเมินตนเอง = พึงพอใจมากที่สุด (5 คะแนน) 2) หัวหน้างาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) 3) เพื่อนร่วมงาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) ดังนั้น ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของนาย ก เท่ากับ 4.3 เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมิน แสดงว่านาย ก มีผลการประเมินสมรรถนะบริการที่ดี (Service Mind) อยู่ที่ระดับ 4 คะแนน จากนั้นผู้ประเมินหลัก (ผู้บังคับบัญชา) นำผลที่ได้จากการร่วมประเมินมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แล้วระบุคะแนนที่ได้ลงในแบบฟอร์ม
C3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (M : Mastery / Expertise) คำจำกัดความ : ความสนใจใฝ่รู้ สั่งสมความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง จนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์
C3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (M : Mastery / Expertise) • ระดับที่ 1-5 ปรับลดเกณฑ์การประเมินเป็น “1 คะแนน =มี และ 5 คะแนน = ไม่มี” ** เฉพาะรอบประเมินที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ในการประเมินระดับที่ 2 ระดับที่ 3 และระดับที่ 4 สามารถนำผลงานของปีที่ผ่านมา มาใช้ในการประเมินได้
C4 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) คำจำกัดความ :ความมุ่งมั่นและตั้งใจจะปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดีมีประสิทธิผล หรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น และหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทาย
C4 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) • ระดับที่ 2
หลักระบาดวิทยา คำจำกัดความ : ความสามารถในการปฏิบัติงานการวิเคราะห์ สอบสวนทางด้านระบาดวิทยา รวมทั้งการกำกับติดตามสภาวะสุขภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถระบุแนวโน้มและการระบาดของโรค และเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ (Adverse health events) การจัดหา จัดเตรียมข้อมูลสารสนเทศ เพื่อกำหนดมาตรการและแนวปฏิบัติ พร้อมทั้งเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินและดำเนินการแก้ไขปัญหา ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
หลักระบาดวิทยา • ระดับที่ 2
การวิจัยและพัฒนา คำจำกัดความ :ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านวิจัยที่เน้นการแสวงหาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New product) สิ่งประดิษฐ์ใหม่ (New inventions) การพัฒนากระบวนการ(Process) การพัฒนาระบบและวิธีทำงาน (System and procedures) และ/หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ (Newtechnologies)โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน(Research-base development) สำหรับการพัฒนาการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์
การวิจัยและพัฒนา • ระดับที่ 2
การวิจัยและพัฒนา • ระดับที่ 3
การวิจัยและพัฒนา • ระดับที่ 3
ข้อเสนอแนวทางการประเมินสมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค (Functional Competency)
แนวทางการประเมินสมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค (Functional Competency) • สายงานหลัก เลือกประเมินจำนวน 2 สมรรถนะ จากสมรรถนะทั้งหมด 3 สมรรถนะ • สายงานอื่น ให้ประเมินสมรรถนะ “การติดตามและประเมินผล” เพียงตัวเดียวและมีน้ำหนักเท่ากับ 8 คะแนน
ตารางแสดงสายงานของบุคลากรกรมควบคุมโรคตารางแสดงสายงานของบุคลากรกรมควบคุมโรค
Thank You! กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค โทร : 02 590 3846 หรือ 02 590 3049 E-mail : hr_plan@hotmail.com Face book : กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร กองการเจ้าหน้าที่