430 likes | 587 Views
KM กองแผนงาน ครั้งที่ 1/2552 (ครั้งที่ 1) วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม 2552 ณ ห้องประชุมชั้น 11 อาคาร 7 ระหว่างเวลา 09.30 น. - 12.00 น. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน.
E N D
KM กองแผนงาน ครั้งที่ 1/2552 (ครั้งที่ 1) วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม 2552 ณ ห้องประชุมชั้น 11 อาคาร 7 ระหว่างเวลา 09.30 น. - 12.00 น. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานได้กำหนด การดำเนินการในหมวด 4 เป็นสิ่งที่ส่วนราชการได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2547 ทั้งการจัดการระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้และเป็นส่วนที่เป็นพื้นฐานสำคัญที่จะทำให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งส่วนราชการต้องจัดทำแผนการจัดการความรู้ และนำแผนไปปฏิบัติ โดยแสดงแผนการจัดการความรู้(KM Action Plan)และรายงานผลการดำเนินตามแผนการจัดการความรู้ ประกอบกับคำรับรองปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2552 ได้กำหนดเป็นตัวชี้วัดที่กผ. 13 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานของหน่วยงาน(กองแผนงาน)
หน้าที่ความรับผิดชอบ -ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อจัดทำแผนงาน แนวทางและกลยุทธ์การอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทน -จัดทำงบประมาณ ติดตาม และประเมินผลแผนปฏิบัติการและการดำเนินงาน ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน -ประสานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน ทดแทน รวมทั้งดำเนินงานเลขานุการคณะกรรมการที่เกี่ยวกับกิจกรรม ระหว่างประเทศและภูมิภาคด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน -ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นทีเกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
นายณฐนน รุ่งวัฒนาพร ผู้อำนวยการกองแผนงาน กลุ่มแผนงานและงบประมาณ กลุ่มประสานความร่วมมือด้านพลังงาน กลุ่มติดตามและประเมินผล ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กองแผนงาน
กองแผนงาน กลุ่มแผนงานและงบประมาณ กลุ่มประสานความร่วมมือด้านพลังงาน ฝ่ายบริหารงานทั่วไป กลุ่มติดตามและประเมินผล • หน้าที่ความรับผิดชอบ : • จัดทำยุทธศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์ และ • แผนบริหารราชการ แผนปฏิบัติการ • ด้านอนุรักษ์พลังงาน และพลังงาน • ทดแทนของประเทศ • จัดเตรียม และจัดหาเงินงบประมาณทั้ง • งบประมาณแผ่นดินและเงินนอก • งบประมาณเพื่อดำเนินงานให้เป็นไป • ตามยุทธศาสตร์ • จัดทำแผนการดำเนินงาน และแผนการ • ใช้จ่ายงบประมาณประจำปี • ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย • หน้าที่ความรับผิดชอบ : • ดำเนินงานด้านเลขานุการขอคณะกรรมการ • สมาชิกฝ่ายไทยของ องค์การระหว่าง • ประเทศและกิจกรรมต่าง ๆ ด้านการอนุรักษ์ • พลังงานและพลังงานทดแทน ภายใต้กรอบ • ความ ร่วมมือระหว่างประเทศและภูมิภาค • เป็นศูนย์กลางประสานงานและดำเนินการ • กิจกรรมต่างประเทศด้านความร่วมมือและ • ความช่วยเหลือด้านอนุรักษ์พลังงานและ • พลังงานทดแทนทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี • บริหารจัดการ การให้ความช่วยเหลือและ • สนับสนุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน • ทดแทนแก่ประเทศเพื่อนบ้าน และเป็น • ผู้แทนในการติดต่อประสานงานและการ • ประชุมเจรจาการให้ความช่วยเหลือดังกล่าว • ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย • หน้าที่ความรับผิดชอบ : • งานด้านสารบรรณ ได้แก่ • การรับ - ส่งหนังสือราชการ • ร่างโต้ตอบ จัดเก็บรักษา ทำลาย • สำเนาเอกสาร งานพิมพ์ต่าง ๆ • งานด้านการเจ้าหน้าที่เบื้องต้น • ได้แก่ การบันทึกเวลาปฏิบัติ • ราชการและการลาประเภทต่าง ๆ • ตลอดจนการจัดทำสถิติ การลา • ของเจ้าหน้าที่ • ดูแลความสะอาด การใช้น้ำ ไฟฟ้า • ดูแลงานด้านพัสดุ เช่น การจัดซื้อ • ส่งคืน การโอน การเบิกจ่าย • ดูแลเกี่ยวกับการจัดประชุม • ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ • มอบหมาย • หน้าที่ความรับผิดชอบ : • ติดตามประเมินผล ตามแผนการ • ดำเนินงานแผนการใช้งบประมาณ • และตัวชี้วัดด้านอนุรักษ์พลังงาน • และพลังงานทดแทน • ดำเนินงานด้านส่งเสริม • ประสิทธิภาพ • ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
กลุ่มแผนงานและงบประมาณกลุ่มแผนงานและงบประมาณ
ภารกิจของกลุ่มแผนงานและงบประมาณภารกิจของกลุ่มแผนงานและงบประมาณ งานงบประมาณกองทุน งานแผนงาน งานงบประมาณแผ่นดิน งานธุรการ • จัดทำยุทธศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนของประเทศ • 1. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • 2. แผนปฏิบัติราชการประจำปี • 3. ต้นทุนผลผลิต • -สำนักงบประมาณ • -กรมบัญชีกลาง • 4. ระบบบริหารความเสี่ยง • 5. PMQA • 6. ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย • จัดเตรียม และจัดหา เงินงบประมาณ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ 1. การจัดทำงบประมาณ • -ทบทวน เป้าหมายการให้บริการกรมฯ ผลผลิตกิจกรรมและตัวชี้วัด • ความสำเร็จ • -วิเคราะห์คำของบประมาณของสำนัก/กอง • -จัดทำข้อมูลรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น • -จัดทำข้อมูล MTEF • -จัดทำกรอบวงเงินเบื้องต้น • -จัดทำข้อมูลรายละเอียดคำของบประมาณในระบบ e-Budgeting 2. การชี้แจงต่อรัฐสภา -การจัดสรรงบประมาณให้สำนัก/กอง -การจัดทำข้อมูลเพื่อชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ • วุฒิสภา • -จัดทำข้อมูลเพิ่มเติมภายหลังการชี้แจงต่อสภาฯ 3. การจัดทำแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปี พร้อมทั้งจัดทำในระบบ EVmis • -รวบรวมและวิเคราะห์แผนการดำเนินงาน แผนการใช้จ่าย แผนการ • จัดซื้อ/จัดจ้างของแต่ละสำนัก/กอง 4. จัดทำคำของบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการเจรจาและการประชุม นานาชาติ 5. จัดทำงบประมาณของ กองแผน -คำขอตั้ง, ชี้แจงกรรมาธิการ, แผนดำเนินการและแผนใช้จ่าย • งบประมาณ, แผนการจัดซื้อ/จัดจ้าง • -จัดทำคำของบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการเจรจาและการประชุม • นานาชาติ 6. ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย 1. การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณฯ 2. จัดทำแผนและผลการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ และ การจัดซื้อ/จัดจ้าง 3. จัดทำและตรวจสอบการจัดทำข้อมูลและรายงานระบบต้นทุนผลผลิต 4. ให้คำปรึกษาหารือ อบรม รวมถึงการจัดทำ/ ปรับปรุงคู่มือในการปฏิบัติงานฯ 5. การประสานงานและติดตามเพื่อจัดทำระเบียบวาระเสนอคณะอนุกรรมการฯ/กรรมการกองทุนฯ 6. การสนับสนุนการดำเนินการโครงการต่างๆ 7. เป็นคณะทำงานในการดำเนินการโครงการต่างๆ 8. สนับสนุนการจัดทำรูปแบบการนำเสนอผู้บริหารเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ 9. การประสานงานการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ 1. งานด้านสารบรรณ ได้แก่ การรับ-ส่งหนังสือราชการร่างโต้ตอบ จัดเก็บรักษา ทำลาย สำเนาเอกสาร งานพิมพ์ต่างๆ 2. ดูแลงานด้านพัสดุ เช่น การจัดซื้อ ส่งคืนการโอนการเบิกจ่าย 3. ดูแลเกี่ยวกับการจัดประชุม 4. งานด้านการบันทึกข้อมูล 5. ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
งานแผนงาน จัดทำยุทธศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนของประเทศ 1. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 2. แผนปฏิบัติราชการประจำปี 3. ต้นทุนผลผลิต -สำนักงบประมาณ -กรมบัญชีกลาง 4. ระบบบริหารความเสี่ยง 5. PMQA 6. ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
งานงบประมาณ งบประมาณกองทุน งบประมาณแผ่นดิน จัดเตรียม และจัดหา เงินงบประมาณ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ กิจกรรมที่ 1. การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน วิธีการดำเนินงาน -ทบทวน เป้าหมายการให้บริการกรมฯ ผลผลิตกิจกรรมและตัวชี้วัดความสำเร็จ -วิเคราะห์คำของบประมาณของสำนัก/กอง -จัดทำข้อมูลรายจ่ายขั้นต่ำที่จำเป็น -จัดทำข้อมูล MTEF -จัดทำกรอบวงเงินเบื้องต้น -จัดทำข้อมูลในระบบ e-Budgeting
งานงบประมาณ(ต่อ) กิจกรรมที่ 2. การชี้แจงต่อรัฐสภา วิธีการดำเนินงาน -การจัดสรรงบประมาณให้สำนัก/กอง -การจัดทำข้อมูลเพื่อชี้แจงต่อคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภา -จัดทำข้อมูลเพิ่มเติมภายหลังการชี้แจงต่อสภาฯ กิจกรรมที่ 3. การจัดทำแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พร้อมทั้งจัดทำในระบบ EVmis วิธีการดำเนินงาน -รวบรวมและวิเคราะห์แผนการดำเนินงาน แผนการใช้จ่าย แผนการจัดซื้อ/จัดจ้างของแต่ละสำนัก/กอง
งานงบประมาณ(ต่อ) กิจกรรมที่ 4. จัดทำคำของบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการเจรจาและการประชุมนานาชาติ กิจกรรมที่ 5. จัดทำงบประมาณของ กองแผน วิธีการดำเนินงาน -คำขอตั้ง, ชี้แจงกรรมาธิการ, แผนดำเนินการและแผนใช้จ่าย งบประมาณ, แผนการจัดซื้อ/จัดจ้าง -จัดทำคำของบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการเจรจาและการประชุม นานาชาติ กิจกรรมที่ 6. การจัดทำงบประมาณกองทุน -การจัดทำคำขอตั้งงบประมาณฯ -จัดทำแผนและผลการใช้จ่ายเงินกองทุนฯ และ การจัดซื้อ/จัดจ้าง กิจกรรมที่ 7.ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
ติดตาม เร่งรัดการจัดซื้อ/จัดจ้าง และการใช้จ่ายตามแผนงานงบประมาณประจำปีและงบกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ติดตามและรายงานผลการใช้จ่ายเงินกันเหลื่อมปีงบประมาณ รายงานผลการดำเนินงานด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เสนอหน่วยงานภายในและภายนอก พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการติดตามและประเมินผล ติดตามและประเมินผลโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ในหมวดที่ 6 การจัดการกระบวนงาน ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน การจัดทำระบบการติดตาม ประเมินผลด้วยตนเอง (Self Assessment) ในระดับโครงการและผลผลิต การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อวัดผลการปฏิบัติงาน (Individual Scorecard) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หน้าที่ความรับผิดชอบกลุ่มติดตามและประเมินผล งานติดตามประเมินผล งานส่งเสริมประสิทธิภาพ งานธุรการ • ด้านสารบรรณ • - รับส่งหนังสือระหว่างสำนัก/กอง/ศูนย์ • - บันทึกข้อมูลและปรับปรุงระบบ ติดตามและประเมินผล • - จัดพิมพ์เอกสารรายงานของกลุ่ม • ด้านพัสดุ • - ยกเรื่องจัดซื้อวัสดุ/ครุภัณฑ์และยกเรื่องซ่อมแซมครุภัณฑ์ของกลุ่ม • - จัดทำรายงานตรวจสอบพัสดุสิ้นปี • ด้านอื่น ๆ • - จัดทำคำของบประมาณของกลุ่ม • - ประสานข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน • - ประสานงานและช่วยจัดเตรียมเอกสารอาหารว่างในการประชุมต่าง ๆ
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกรม ติดตาม เร่งรัดการจัดซื้อ/จัดจ้าง การใช้จ่ายเงินตามแผนงานงบประมาณประจำปี และการใช้จ่ายเงินกันเหลื่อมปีงบประมาณ และรายงานผลการดำเนินงาน เสนอหน่วยงานภายในและภายนอก ดังนี้ ผู้บริหาร พพ. (รายเดือน) สำนักงานปลัด พน. (รายเดือน/ไตรมาส/ปี) คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวงพลังงาน หรือ ค.ต.ป.พน. (ราย 6 เดือน) กรมบัญชีกลาง (รายเดือน, ตามกรณีแจ้งขอมา) สำนักงบประมาณ (รายไตรมาส, ตามกรณีแจ้งขอมา) สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (รายไตรมาส , ตามกรณีแจ้งขอมา) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (รายปี) สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (ตามกรณีแจ้งขอมา) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ตามกรณีแจ้งขอมา) สำนักโฆษกสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (ตามกรณีแจ้งขอมา)
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการติดตามและประเมินผลการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการติดตามและประเมินผล จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานผ่าน Website ในเรื่องของการจัดซื้อ/จัดจ้าง การใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี และการใช้จ่ายเงินกันเหลื่อมปีงบประมาณ โดยระบบสามารถออกรายงาน (Report) เพื่อเสนอต่อหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกได้ตามรูปแบบที่กำหนด
การติดตามและประเมินผลโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้านการติดตามและประเมินผลโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ดังนี้ ปีงบประมาณ 2549 จำนวน 10 โครงการ ในประเทศ สปป.ลาว กัมพูชา และสหภาพพม่า ปีงบประมาณ 2550 จำนวน 10 โครงการ ในประเทศ สปป.ลาว กัมพูชา และสหภาพพม่า ปีงบประมาณ 2551 จำนวน 9 โครงการ ในประเทศ สปป.ลาว กัมพูชา สหภาพพม่า และ เวียดนาม
การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) สำนักงบประมาณได้กำหนดให้ใช้เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) โดยวิเคราะห์ความเชื่อมโยงแผนของหน่วยงาน กับความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของผลลัพธ์ - ผลผลิต - กิจกรรม - งบประมาณอย่างเป็นระบบ เครื่องมือประกอบด้วย ชุดคำถาม 5 ชุด รวม 30 ข้อ 100 คะแนน ประกอบด้วยชุดคำถาม (ก) จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (ข) การวางแผนกลยุทธ์ (ค) การเชื่อมโยงงบประมาณ (ง) การบริหารจัดการ (จ) การประเมินผลผลิต/ผลลัพธ์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ในหมวดที่ 6 การจัดการกระบวนงาน ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ดำเนินการจัดทำตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA โดยรับผิดชอบในส่วนของหมวด 6 การจัดการกระบวนการ ) ซึ่งในปีงบประมาณ 2551- 52ได้จัดทำ รายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment) รายงานจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง รายงานการจัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุง รายงานผลการดำเนินการ (Application Report) เอกสารหลักฐานประกอบผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองได้แก่ คู่มือการปฏิบัติงาน ของกระบวนการสร้างคุณค่า คู่มือการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน แผนปรับปรุงการจัดการกระบวนการ
การจัดทำระบบการติดตาม ประเมินผลด้วยตนเอง (Self - Assessment)ในระดับโครงการและผลผลิต จัดทำแบบติดตามและประเมินผลโครงการ (Self-Assessment) ที่ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ ข้อมูลพื้นฐานโครงการ สรุปการดำเนินโครงการตามแนวทางการประเมินผลแบบ Logical Framework การประเมินผลโครงการ (Self-Assessment) จัดทำคู่มือการใช้งานระบบการติดตาม ประเมินผล ประสาน กอง/สำนัก เพื่อดำเนินการบันทึกข้อมูลโครงการ สรุปผลการดำเนินงานและประเมินผลโครงการ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลการติดตามประเมินผลและจัดทำรายงานในระดับผลผลิตของกรม
การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อวัดผลการปฏิบัติงาน (Individual Scorecard) อาศัยหลักการของการประเมินองค์กรแบบสมดุล TheBalance Scorecard ซึ่งเป็นการประเมินผลการดำเนินงานใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านประสิทธิผล ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพทางการปฏิบัติราชการ แ ละด้านการพัฒนาองค์กร โดยดำเนินการ ดังนี้ กำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคลที่ถ่ายทอดจากระดับสำนัก/กอง/ศูนย์ กำหนดรายละเอียดตัวชี้วัด เช่น ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การวัดผล จัดทำระบบการวัดระดับผลสำเร็จของการปฏิบัติงานโดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เชื่อมโยงสิ่งจูงใจแก่บุคคลกับระดับผลสำเร็จของการปฏิบัติงาน
กลุ่มประสานความร่วมมือด้านพลังงานกลุ่มประสานความร่วมมือด้านพลังงาน
ประสานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ดำเนินงานเลขานุการคณะกรรมการที่เกี่ยวกับกิจกรรมระหว่างประเทศและภูมิภาค อำนาจหน้าที่และการดำเนินงาน
กลุ่มประสานความร่วมมือกลุ่มประสานความร่วมมือ ด้านพลังงาน งานเลขานุการคณะกรรมการสมาชิกฝ่ายไทยขององค์กรระหว่างประเทศ งานประสานงานและดำเนินภารกิจต่างประเทศ
งานเลขานุการคณะกรรมการสมาชิกฝ่ายไทยงานเลขานุการคณะกรรมการสมาชิกฝ่ายไทย ขององค์กรระหว่างประเทศ - องค์การซีเกร (CIGRE)- องค์การพลังงานโลก (WEC)- องค์การเขื่อนใหญ่ระหว่างชาติ (ICOLD)- ASEAN Forum on Coal (AFOC)
งานเลขานุการคณะกรรมการสมาชิกฝ่ายไทย (ต่อ) ติดต่อประสานงานระหว่างองค์การฯ และคณะกรรมการ สมาชิกฝ่ายไทย - การเข้าร่วมการประชุมและการเสนอบทความ - การเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการดำเนินการศึกษา - การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร บทความทางวิชาการและการสั่งซื้อ หนังสือ - การชำระค่าบำรุงสมาชิกและการจัดตั้งงบประมาณ - การสนับสนุนและร่วมมือในกิจกรรมองค์การ - การจัดการประชุมคณะกรรมการสมาชิกฝ่ายไทย
งานประสานงานและดำเนินภารกิจต่างประเทศงานประสานงานและดำเนินภารกิจต่างประเทศ กรอบพหุภาคี ASEAN (EE&C-SSN, RE-SSN, AFOC) ACMECS BIMSTEC ฯลฯ กรอบทวิภาคี ญี่ปุ่น เยอรมัน ฯลฯ
งานประสานและดำเนินภารกิจต่างประเทศ (ต่อ) - ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างประเทศและหน่วยงานในประเทศที่ เกี่ยวข้องทั้ง ในกรอบทวิภาคีและพหุภาคี การดำเนินโครงการความร่วมมือกับต่างประเทศทั้งการขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศและการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้าน การแจ้งเวียนข้อมูลข่าวสาร การประชุม ดูงาน สัมมนาระหว่างประเทศ การรวบรวม สรุป และจัดทำข้อมูล ข้อคิดเห็น/ท่าที ต่อประเด็นความร่วมมือ/ข้อตกลง/บันทึกความเข้าใจ ด้านพลังงาน งานด้านพิธีการ - การจัดการประชุม อบรม สัมมนา ดูงานระหว่างประเทศ - การขอเข้าพบผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของกรมฯ
งานด้านอื่นๆ อำนวยความสะดวกให้กับผู้แทนกรมฯในการเดินทางไปประชุม เจรจาหารือต่างประทศ อาทิ การขออนุมัติเดินทาง การจองตั๋วเครื่องบิน การจองที่พัก การลงทะเบียน ฯลฯ การดูแลและตรวจสอบงบประมาณที่ใช้ในการเดินทางไปประชุม เจรจาต่างประเทศ
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ด้านพัสดุ ด้านสารบรรณ ด้านบุคลากร ด้านอื่น ๆ
รับส่งหนังสือ ทั้งภายในและนอกกองนำเสนอผู้อำนวยการพิจารณาและสั่งการออกเลขที่หนังสือของกองร่างและโต้ตอบหนังสือเวียนหนังสือเพื่อทราบ/ดำเนินการงานพิมพ์ ถ่ายเอกสาร และอัดสำเนา ด้านสารบรรณ
บันทึกเวลาปฏิบัติราชการการจัดทำสถิติวันลาต่าง ๆ เช่น การลาป่วย ลากิจ ลาพักผ่อน และรวบรวมส่งกลุ่มบริหารงานบุคคล สบก. ด้านบุคลากร • บันทึกการอบรม สัมมนา ประชุม ของเจ้าหน้าที่
จัดทำใบ พช.พ. เพื่อ ขอซื้อ ขอจ้าง เบิก โอน คืน วัสดุครุภัณฑ์ และส่งให้กลุ่มบริหารทรัพย์สิน สบก. ดำเนินการ ด้านพัสดุ
ดูแลสถานที่ เช่น ทำความสะอาด การใช้น้ำ และไฟฟ้าอำนวยความสะดวกในการประชุม เช่น จองห้องตลอดถึงการจัดเลี้ยง • งานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ด้านอื่น ๆ