390 likes | 606 Views
ผู้ผลิต SMEs ชิ้นส่วนยานยนต์ จะใช้ประโยชน์จาก FTA อย่างไร ?. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 17 มีนาคม 2548. ส่วนที่ 1. ผู้ผลิต SMEs ชิ้นส่วนยานยนต์.. สิ่งท้าทายในโลกการค้าปัจจุบัน. ส่วนที่ 2. ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า
E N D
ผู้ผลิต SMEsชิ้นส่วนยานยนต์ จะใช้ประโยชน์จาก FTAอย่างไร? ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 17มีนาคม 2548
ส่วนที่1 ผู้ผลิตSMEsชิ้นส่วนยานยนต์.. สิ่งท้าทายในโลกการค้าปัจจุบัน ส่วนที่2 ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า กับการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี FTA ส่วนที่ 3 การเตรียมตัวของผู้ผลิต SMEs ชิ้นส่วนยานยนต์ ในโลกการค้าปัจจุบัน
ส่วนที่1 ผู้ผลิตSMEsชิ้นส่วนยานยนต์.. สิ่งท้าทายในโลกการค้าปัจจุบัน
จำนวนโรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ขึ้นทะเบียนกรมโรงงานจำนวนโรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ขึ้นทะเบียนกรมโรงงาน 2,242 โรงงาน (100%) โรงงานขนาดใหญ่ (LSEs) 82 โรงงาน (4%) โรงงานขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 2,160 โรงงาน (96%) ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ 62 โรงงาน ประกอบรถยนต์ 15 โรงงาน ประกอบ รถจักรยานยนต์ 5 โรงงาน ผลิตชิ้นส่วน 2,160 โรงงาน หมายเหตุ : ไม่รวมอุตสาหกรรมสนับสนุนอื่น อาทิ Mould, Die, Tooling, Jig & Die SMEs แบ่งตามเกณฑ์ จำนวนคนงาน 50-200 คน ที่มา : กรมโรงงานอุตสาหกรรม ปี 2545 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์
บริษัทขนาดกลางใหญ่ Assembler บริษัทผู้ผลิต ยานยนต์ Tier 1 ผู้ผลิตชิ้นส่วน ต่างประเทศ ผู้ผลิตชิ้นส่วน ในประเทศ SMEs ผู้ผลิตชิ้นส่วน ในประเทศ Tier 2, 3, lowers การเชื่อมโยงของอุตสาหกรรม
SMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์..สิ่งท้าทายในโลกการค้าปัจจุบันSMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์..สิ่งท้าทายในโลกการค้าปัจจุบัน การยกเลิกนโยบายการบังคับใช้ชิ้นส่วนภายในประเทศ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2546 การให้ความช่วยเหลือพัฒนากลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนให้สามารถผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพตามความต้องการของ ผู้ประกอบ ให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนทำตามความต้องการ โดยกำหนดคุณลักษณะสินค้าให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนทำหน้าที่ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เอง
ออกแบบให้มี Platformหรือ Lineการผลิต แบบเดียวกันทั่วโลก คัดเลือก Supplier ที่ผลิตชิ้นส่วนถูกที่สุด และคุณภาพดีที่สุด ใช้ Common Parts ร่วมกัน ให้มากที่สุด SMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์..สิ่งท้าทายในโลกการค้าปัจจุบัน ผู้ประกอบ รถยนต์ • นโยบาย • Global Platform • เกิดการประหยัดจากขนาด • เกิดการลดต้นทุน นโยบาย Global Sourcing
วัตถุดิบใช้สะสมระหว่างกันในอาเซียน( ) CRO กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของอาเซียนในปัจจุบัน แบบเดิม... 40 นับ 100 (สะสมได้เต็มมูลค่า) โดยประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบมาให้สะสม จะได้ภาษี CEPT Full แบบใหม่ ... สะสมโดยนับมูลค่าตามสัดส่วนที่เป็นจริง ซึ่งประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบมาให้สะสม จะไม่ได้ภาษี CEPTเนื่องจากได้Local Content ไม่ถึง40% (20-39%) Partial
ไม่ได้ภาษี CEPT ไม่ได้ภาษี ACFTA สิงคโปร์ ไทย จีน ? เม็ดพลาสติก นอกอาเซียน ทำชิ้นส่วนพลาสติก มูลค่า100 LC 20% ประกอบเป็น ยานยนต์ LC 35% นำเข้า สินค้า จากไทย ไทยไม่สามารถนำมูลค่าที่ซื้อจากสิงคโปร์ มาสะสมเป็นต้นทุนของไทยได้เลย เนื่องจาก LC<40%ให้ถือว่า ชิ้นส่วนพลาสติกมาจากนอกอาเซียน ผู้ผลิตยานยนต์อาจเลือกซื้อชิ้นส่วนจากผู้ผลิตชิ้นส่วนในไทย กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ตัวอย่างสมมติ...สินค้าชิ้นส่วนยานยนต์..กรณีส่งออกไปจีน Full
ได้ภาษี ACFTA จีน ? นำเข้า สินค้า จากไทย ? ไทยสามารถนำมูลค่า 20 ที่ซื้อจากสิงคโปร์(20% ของ100)มาสะสมรวม เป็นต้นทุนของไทยได้ เนื่องจาก LC>20% เป็นทางเลือกให้ ผู้ประกอบยานยนต์เลือกนำเข้าชิ้นส่วนจากอาเซียน กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) ตัวอย่างสมมติ...สินค้าชิ้นส่วนยานยนต์..กรณีส่งออกไปจีน Partial ไม่ได้ภาษี CEPT สิงคโปร์ ไทย ผู้ผลิต ประกอบเป็น ยานยนต์ เม็ดพลาสติก นอกอาเซียน ทำชิ้นส่วนพลาสติก มูลค่า100 LC 20% LC 40%
ผู้ผลิต SMEs ชิ้นส่วนยานยนต์ จะต้องปรับตัวอย่างไร เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจาก FTA ?
ส่วนที่2 ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า กับการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี FTA • SMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ • จะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้กรอบ FTAอย่างไร • SMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ • จะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษี ถ้าผลิตได้แหล่งกำเนิดสินค้าที่ถูกต้อง
SMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์SMEsผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้กรอบ FTAอย่างไร ตัวอย่าง อัตราภาษีที่แตกต่างกันของประเทศไทยในแต่ละกรอบการค้า
WEBSITEเกี่ยวกับภาษีของไทยในแต่กรอบการค้าWEBSITEเกี่ยวกับภาษีของไทยในแต่กรอบการค้า กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ WWW.dtn.moc.go.th สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง http://e-fpo.fpo.go.th กรมศุลกากร WWW.customs.go.th/Tariff/TariffIndex.jsp
แหล่งกำเนิดสินค้า คือ อะไร ?? สินค้าได้รับ“” ตามประเทศที่ผลิตสินค้านั้น อย่างมากเพียงพอ สัญชาติ
ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ประเทศที่ได้แหล่งกำเนิดสินค้า จะได้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามที่ตกลงกัน
5% 20% ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า สมมติกำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% (WTO 10%) ทำโช้กอับ 8708.80 ได้LC >40% ทำกันชน 8708.10 ได้LC>40% (WTO 42%) Origin Origin
ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ประเทศที่ไม่ได้แหล่งกำเนิดสินค้า จะเสียสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามที่ได้ตกลงกัน
WTO WTO WTO 10 % 10% ทำกันชน 8708.10 ได้LC <40% 20% Origin ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า สมมติกำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% (FTA 5%) ทำโช้กอับ 8708.80 ได้LC >40% (WTO 42%) Origin
ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ถ้าอัตราภาษีนำเข้าเหลือ 0% สำหรับสินค้าชิ้นส่วนยานยนต์ กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า จะไม่มีความสำคัญ
โรงงาน ข โรงงาน ค นำมา ประกอบย่อย เย็บ ขึ้นรูป ขึ้นรูป ประกอบเป็น เบาะรถยนต์ วิธีผลิตเพื่อให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้ามีวิธีอะไรบ้าง ?? WO • วิธีการผลิตแบบใช้วัตถุดิบในประเทศทั้งหมด • “Wholly Obtained” การดัก จับ รวบรวม เพาะเลี้ยง การเกิด การเลี้ยง เก็บรวบรวม ตัวอย่าง เบาะรถยนต์ โรงงาน ก ใช้เหล็กเส้น หนัง โฟม ในประเทศ มาตัด อัด ขึ้นรูป
วิธีผลิตเพื่อให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้ามีวิธีอะไรบ้าง ?? ST 2.วิธีการผลิตแบบSubstantial Transformation การเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากร (Change of Tariff Classification: CTC) ตัวอย่าง การเปลี่ยนพิกัดแบบ 2 ตัว ชิ้นส่วนพลาสติก ประกอบรถยนต์ 8708.29 เม็ดพลาสติก3902.10 โพลิอีเทอร์3907.20 CC กฎ ST สนับสนุนให้นำเข้าวัตถุดิบจากทุกประเทศในโลก มาผ่านกระบวนการผลิตและแปรสภาพในประเทศไทย
โคมไฟ ส่องป้ายทะเบียน 8512 การเปลี่ยนแปลงพิกัดศุลกากร (Change of Tariff Classification:CTC) (Change of chapter) CC Process (ST) ชิ้นส่วนพลาสติก 8708.29 เม็ดพลาสติก 3902.10 (Change of Tariff Heading) CTH Process (ST) หลอดไฟ 8539.21 (Change of Tariff Heading) CTSH โช้คอัพ 8708.80 Process (ST) ชิ้นส่วนโช้คอัพ 8708.99
วิธีผลิตเพื่อให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้ามีวิธีอะไรบ้าง ?? 3.วิธีการผลิตแบบใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content วัตถุดิบ ค่าแรง กำไร ต้นทุนการผลิต ค่าขนส่งมาท่าเรือ ขึ้นกับการเจรจา วัตถุดิบ นำเข้า X% ประเทศไทย Y% LC % = Y%
สูตรการคำนวณ Local Contentของอาเซียนในปัจจุบัน การคำนวณทางตรง(Direct way) มูลค่าวัตถุดิบในประเทศ + ต้นทุน =+ กำไร + ค่าขนส่ง (มาที่ท่าเรือ) x 100>40% ราคา FOB การคำนวณทางอ้อม(Indirect way) = มูลค่าวัตถุดิบนำเข้า x 100 < 60% ราคาFOB ใช้เป็นท่าทีของไทยในการเจรจา FTA
ตัวอย่างสมมติการผลิต..ลิ้นไอดีไอเสีย สำหรับเครื่องยนต์..8409 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย เหล็กแท่ง 7228.50 (อิตาลี) ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าเสื่อมราคา ต้นทุนอื่นๆ กำไร ค่าขนส่ง ลิ้นไอดีไอเสียLC ~80% 58 20 20 ได้ Local Content สูง 2 80
วิธีผลิตเพื่อให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้ามีวิธีอะไรบ้าง ?? 4.การผลิตแบบสะสมวัตถุดิบระหว่างประเทศภาคี FTAด้วยกัน Regional Value Content ประเทศอื่นๆ A B FTA : ประเทศ AและB LC % = วัตถุดิบในประเทศ A+วัตถุดิบในประเทศB +ต้นทุนการผลิตในประเทศตนเอง
ตัวอย่างสมมติการผลิต.สวิตซ์ไฟเตือนประตูหน้า.8708.เพื่อส่งออกไปประเทศFTAตัวอย่างสมมติการผลิต.สวิตซ์ไฟเตือนประตูหน้า.8708.เพื่อส่งออกไปประเทศFTA ยกเว้น ญี่ปุ่น วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าเสื่อมราคา ต้นทุนอื่นๆ กำไร ค่าขนส่ง Finished Case 4016.99 (ญี่ปุ่น) 36 สวิตซ์ไฟเตือน ประตูหน้า LC ~42% 58 1 5 42 ได้Local Contentไม่สูง ดังนั้น การได้แหล่งกำเนิดสินค้า อาจใช้วิธีเปลี่ยนการพิกัด หรือ ในกรอบ FTAไทย-ญี่ปุ่น มูลค่า Finished Case ที่นำเข้า ให้นำมารวมในการคิด Content ของไทยได้
ตัวอย่างสมมติการผลิต..หม้อน้ำรถยนต์..8708.91.. เพื่อส่งออกไปญี่ปุ่น วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย ต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าเสื่อมราคา ต้นทุนอื่นๆ กำไร ค่าขนส่ง Tube Water ท่อทำด้วย อะลูมิเนียม 7608.20 (ญี่ปุ่น) 9 หม้อน้ำรถยนต์LC ~60% 30 40 ได้Local Contentสูง 17 4 60 มูลค่า Tube Waterนำเข้าจากญี่ปุ่น นับรวมเป็น Contentของไทยได้ กรณี FTA : ไทย-ญี่ปุ่น
กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าในปัจจุบันกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าในปัจจุบัน TAFTA ITFTA >=45% (เป็นข้อเสนอ ยังไม่สรุปผล) รวมกำไร ค่าขนส่ง
ตัวอย่างเกณฑ์การได้แหล่งกำเนิดสินค้า WTO-FTA สินค้าชิ้นส่วนยานยนต์
ตัวอย่างเกณฑ์การได้แหล่งกำเนิดสินค้า WTO-FTA สินค้าชิ้นส่วนยานยนต์
ส่วนที่ 3 การเตรียมตัวของผู้ผลิต SMEs ชิ้นส่วนยานยนต์ ในโลกการค้าปัจจุบัน
ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย (SMEs) ปัจจุบัน อนาคต 1. ต้องแข่งขันกัน ทั้งด้านราคา คุณภาพ และมาตรฐานระดับโลก 2. ต้องผลิตให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้า
ผู้ผลิตชิ้นส่วน (Tier 2) 1. สามารถนำเข้าจากต่างประเทศ 2. สามารถเลือกซื้อจาก Tier 2 ในประเทศ นอก ประเทศไทย SMEs ผู้ผลิตชิ้นส่วน (Tier 1) ผู้ผลิต รถยนต์ ผู้ผลิตชิ้นส่วน (Tier 2) ต้องผลิตให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้าให้มี Local Contentสูงๆ เพื่อ 1. ขายให้Tier 1สามารถนำมูลค่าไปสะสมได้ กรณีต้องการส่งออก 2. สามารถส่งออกไปต่างประเทศด้วยตนเองโดยได้แหล่งกำเนิดสินค้าไทย ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย...ต้องผลิตให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้า
ตัวอย่างสมมติการผลิต..สวิตซ์ไฟเตือนประตูหน้า..8708ตัวอย่างสมมติการผลิต..สวิตซ์ไฟเตือนประตูหน้า..8708 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย KNOB ปุ่มพลาสติก 3926.90 (ญี่ปุ่น) ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าเสื่อมราคา ต้นทุนอื่นๆ กำไร ค่าขนส่ง 33 สวิตซ์ไฟเตือน ประตูหน้า LC ~45% 55 7 5 45 ได้Local Contentไม่สูง ดังนั้น การได้แหล่งกำเนิดสินค้า อาจใช้วิธีเปลี่ยนการพิกัด
ผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย (SMEs) ผู้ผลิต ชิ้นส่วน
Website ความคืบหน้า FTA สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย : www.thaiechamber.com คลิกที่ ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ โทร. 0-2622-1111 ต่อ 146,659และ639 www.dtn.moc.go.th www.thaifta.com www.ftamonitoring.org
ขอบคุณ และสวัสดี