1 / 76

มงคล ๓๘ ประการ ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การคบบัณฑิต ๓. บูชาบุคคลที่ควรบูชา

๑๙. การงดเว้นจากบาป ๒๐. การสำรวมจากน้ำเมา ๒๑. ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๒๒. ความเคารพ ๒๓. การอ่อนน้อมถ่อมตน ๒๔. ความสันโดษ ๒๕. ความกตัญญู ๒๖. การฟังธรรมตามกาล ๒๗. ความอดทน ๒๘. ความเป็นผู้ว่าง่าย ๒๙. การเห็นสมณะ ๓๐. การสนทนาธรรมตามกาล ๓๑. ความเพียรเผากิเลส

Download Presentation

มงคล ๓๘ ประการ ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การคบบัณฑิต ๓. บูชาบุคคลที่ควรบูชา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ๑๙. การงดเว้นจากบาป ๒๐. การสำรวมจากน้ำเมา ๒๑. ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๒๒. ความเคารพ ๒๓. การอ่อนน้อมถ่อมตน ๒๔. ความสันโดษ ๒๕. ความกตัญญู ๒๖. การฟังธรรมตามกาล ๒๗. ความอดทน ๒๘. ความเป็นผู้ว่าง่าย ๒๙. การเห็นสมณะ ๓๐. การสนทนาธรรมตามกาล ๓๑. ความเพียรเผากิเลส ๓๒. การประพฤติพรหมจรรย์ ๓๓. การเห็นอริยสัจ ๓๔. การทำนิพพานให้แจ้ง ๓๕. จิตไม่หวั่นไหวเมื่อถูกโลกธรรมกระทบแล้ว ๓๖. ความไม่เศร้าโศก ๓๗. จิตที่ปราศจากธุลี คือกิเลส ๓๘. จิตที่เกษมจากโยคะ 6 มงคล ๓๘ ประการ ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การคบบัณฑิต ๓. บูชาบุคคลที่ควรบูชา ๔. การอยู่ในที่อันควร ๕. การได้กระทำบุญไว้ในปางก่อน ๖. การตั้งตนไว้ชอบ ๗. การสดับตรับฟังมาก ๘. การศึกษาศิลปะ ๙. วินัยที่ศึกษาดีแล้ว ๑๐. วาจาสุภาษิต ๑๑. การบำรุงมารดาและบิดา ๑๒. การสงเคราะห์บุตร ๑๓. การสงเคราะห์ภรรยา ๑๔. การงานไม่คั่งค้างอากูล ๑๕. ทาน การให้ ๑๖. การประพฤติธรรม ๑๗. การสงเคราะห์ญาติ ๑๘. การงานที่ไม่มีโทษ 1 7 2 3 8 4 9 5 10

  2. มุ่งตรงนิพพาน ๓๕-๓๘ ๓๑-๓๔ ๒๗-๓๐ ปรุงจิตโดยตรง ๒๒-๒๖ ๑๙-๒๑ ๑๕-๑๘ ๑๑-๑๔ ๗-๑๐ เริ่มสร้างชีวิต ๔-๖ ๑-๓

  3. อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

  4. วัตถุ, พืช สัตว์ โลก สัตว์อื่น ๆ คน, มนุษย์ คนดี คนเสีย 1. ไม่คบคนพาล สำคัญที่คน พระพุทธเจ้าท่านให้สนใจคนเสียก่อน เพื่อหลีกเว้น ถ้าตกอยู่กับคนเสีย เราเองก็จะเสีย ทำอะไรก็ไม่ขึ้น เหมือนจะวาดรูประบายสี บนกระดาษที่มีสีดำหกเลอะเทอะ วาดไปก็ไม่สวย

  5. คนเสีย = คนพาล ลักษณะของคนพาล - เหมือนคนทั่วไป พ่อค้า พระสงฆ์ ทหาร ตำรวจ นักการเมือง รัฐมนตรี ครู-อาจารย์ วิศวกร ฯลฯ - ไม่มีใครยอมรับว่าตัวเองเป็นคนพาล ลักษณะของคนพาลตามแบบของนักปราชญ์ ลักษณะของคนพาลตามแบบพระพุทธเจ้า

  6. ลักษณะของคนพาล ตามแบบของนักปราชญ์(ชาวบ้าน) ตามแบบพระพุทธเจ้า 1.มีความคิดทุจริต 1.ชอบชักนำในทางที่ผิด 2.ชอบทำในสิ่งที่ไม่ใช่ธุระ 2.พูดจาทุจริต 3.เห็นผิดเป็นชอบ 3.ชอบทำทุจริต 4.แม้เราพูดดีๆ ก็โกรธ 5.ไม่รับรู้ระเบียบวินัย

  7. 1.ชอบชักนำในทางที่ผิด อาจเป็น ญาติพี่น้อง พ่อ แม่ ครูอาจารย์ เพื่อน TV วิทยุ ฯลฯ การนำ = ทำให้ดู การชัก = การชวนให้ทำ ชักชวน / เชิญชวน / ชี้ชวน 2.ชอบทำในสิ่งที่ไม่ใช่ธุระ ธุระของตัวเองไม่ทำให้เต็มที่ แต่ชอบไปเกะกะธุระของคนอื่น ชอบตรวจสอบธุระของคนอื่นไปบอกเจ้านาย เจ้านายก็ชอบฟัง ถามเรื่องคนอื่นรู้หมด แต่ถามเรื่องงานของตัวเองกลับตอบไม่ได้ นิทานเรื่อง ‘ ธุระไม่ใช่’

  8. นิทานเรื่อง ‘ ธุระไม่ใช่’ เศรษฐีชาวนาคนหนึ่ง เริ่มต้นทำนาด้วยตนเองและครอบครัว ต่อมาขยายกิจการ มีวัวเทียมไถ มีพนักงานดำนา พนักงานไถนา พนักงานเก็บเกี่ยว พนักงานนวดข้าว พนักงานตวงข้าว ต่อมาเศรษฐี ได้เลี้ยงสุนัขไว้ ตัวหนึ่งให้เฝ้าบ้านคอยเห่าขโมย ต่อมารายได้เศรษฐี ตกต่ำลงมาก นาก็เท่าเดิม คนก็เท่าเดิม ราคาข้าวก็เท่าเดิม แต่ทำไมรายได้น้อยลง?? พนักงานเก็บเกี่ยว พนักงานนวดข้าว ถามพนักงานตวงข้าว วัวเทียมไถซูบผอมไปมาก พนักงานดำนา พนักงานไถนา พบว่าสุนัขตัวโปรดเข้าไปนอนในรางหญ้าของวัว คอยเห่าไม่ให้กินหญ้า

  9. 3.คนพาลชอบผิด เห็นผิด + ทำผิด ถ้ารู้ว่าผิดแล้วชอบทำ เช่นทำผิดกฎหมาย ทำผิดระเบียบ เพราะทำแล้วรู้สึกว่าตัวเองเก่ง ใช้คุยอวดเพื่อนได้ ตัวเองทำผิดก็ชอบ เห็นคนอื่นทำผิดก็ชอบด้วย 4.คนพาล แม้เราพูดดีๆ ด้วยก็โกรธ 5.คนพาลไม่รับรู้วินัย วินัย โดยศัพท์แปลว่า นำไป ธรรมะ แปลว่า ทรงไว้

  10. ยาพิษ โค้ก เหล้า อยู่ใกล้ก็ไม่ดีเหมือนแก้วน้ำวางใกล้ยาพิษ ใครจะดื่มก็รู้สึกระแวง เหล้า โค้ก ยาพิษ ใกล้กัน + คบกัน ใกล้กัน หมายถึง นั่งใกล้กัน ยืนใกล้กัน ฯลฯ ทำงานที่เดียวกัน อยู่บ้านหลังเดียวกัน ฯลฯ คบกัน หมายถึง ร่วมใจกัน ละลายชีวิตจิตใจหรือนิสัยใจคอเข้ากัน การร่วม / การรับ / การให้

  11. คำสอนตามกระแส คำสอนทวนกระแส หาทรัพย์เก็บหอมรอมริบ เสียสละ บริจาคทาน สละลูกเมีย ออกบวช วิธีเลือกคู่ วิธีแต่งงาน ไม่คบคนพาล คบบัณฑิต 2. คบบัณฑิต การทำร่างกายให้สวยงาม ได้แก่ระวังไม่ให้ตัวเปื้อน และหาสิ่งมาประดับตัว ลักษณะของบัณฑิต คิดดี ทำดี พูดดี ใช้ความรู้ ไม่เพียงแต่มีความรู้ การคบ พยายามถ่ายทอดนิสัยใจคอ คุณความดี มาสู่ตัว ให้เหมือนลิ้นที่รู้รสแกง

  12. 3. บูชาคนที่ควรบูชา งานของชาวนาหลังนวดข้าวแล้ว คัดข้าวลีบทิ้ง ตะล่อมข้าวดีมารวมไว้ เลือกข้าวดีเลิศไว้ปลูก ประโยชน์ของต้นมะพร้าว การบูชาคืออะไร? เลาะเอาทางมาทำไม้กวาด กราบไหว้ด้วยดอกไม้ธูปเทียน เปลือกทุบทำที่เช็ดเท้า 1. ด้วยการยกย่อง (เชียร์) กะลาใช้ทำฟืน 2. ด้วยสิ่งของ (รูป กลิ่น แสงสว่าง) เนื้อใช้กะทิ ฯลฯ 3. ด้วยการ ยอมรับนับถือ นิทาน หนุ่มเสกเสือ

  13. บูชาคนดี (ความดี) อริยะบุคคล (คนดีล้วน) ปุถุชน (คนดีจำเพาะ) เปลี่ยนแปลงได้ ถ้าเปลี่ยนแล้วก็เลิกบูชาได้ ทำต่อผู้มีอุปการคุณ เลิกไม่ได้ ทำต่อคนดี เลิกได้ถ้าไม่ดี ผู้ควรบูชา คน คำ คณะ กตัญญู กับ บูชา กตัญญู –บุญคุณ บูชา –ความดี การเลือก สส. เป็นการบูชา ไม่ใช่การตอบแทนบุญคุณ (ซื้อเสียง)

  14. พระพุทธ พระรัตนตรัย พระธรรม พระสงฆ์ คนชั่ว คำชั่ว คณะชั่ว อยู่ไม่ได้ อธิบายไม่ได้ คน คำ คณะ ผลของการบูชา 1. ไล่เสนียด 2. ป้องกันการหลงผิด 3. อบรมจิตให้ดีขึ้น 4. ผลทางอภินิหาร

  15. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุเพ จะ กะตะปุญญะตา อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

  16. ธรรมะที่ควรปฏิบัติร่วมกันธรรมะที่ควรปฏิบัติร่วมกัน • ๑. การไม่คบคนพาล • ๒. การคบบัณฑิต • ๓. บูชาบุคคลที่ควรบูชา • ๔. การอยู่ในที่อันควร • ๕. การได้กระทำบุญไว้ในปางก่อน • ๖. การตั้งตนไว้ชอบ • ๗. การสดับตรับฟังมาก • ๘. การศึกษาศิลปะ • ๙. วินัยที่ศึกษาดีแล้ว • วาจาสุภาษิต • ๑๑. การบำรุงมารดาและบิดา • ๑๒. การสงเคราะห์บุตร • ๑๓. การสงเคราะห์ภรรยา • ๑๔. การงานไม่คั่งค้างอากูล 4. อยู่ในปฏิรูปเทศ การทานขนมจีนให้อร่อย - เส้น- น้ำยา น้ำพริก- พริกป่น ใบโหระพรา ถั่วงอก ยอดกระถิน

  17. ปัญหาวงนอก เพ่งที่คนอื่น ตรวจตราคนอื่น ปัญหาวงใน จัดแจงกับตัวเราเอง ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การคบบัณฑิต ๓. บูชาบุคคลที่ควรบูชา เปรียบเหมือน ชาวสวน เลือกพื้นที่ที่จะปลูก พิจารณา ดิน น้ำ อากาศ ทำเล แล้วก็ถางทำรั้วไว้ ๔. การอยู่ในที่อันควร ๕. การได้กระทำบุญไว้ในปางก่อน ๖. การตั้งตนไว้ชอบ เปรียบเหมือน การเลือกพืช+เมล็ดที่จะปลูก หามุมที่จะปลูก และการหาปุ๋ยสูตรอะไรมาใส่

  18. บุญวาสนา ตั้งตัวถูกทาง ปฏิรูปเทศ ไร่หรือสวน จุดที่ขุดหลุมปลูก เชื้อยางภายในของเมล็ดพืช

  19. ถิ่นที่อยู่ ตำบล บ้านเมือง “รูปเฉพาะ”สมควร เรียบร้อย ใช้การได้ ปฏิรูป (ครบ = สมควร) อัปปฏิรูป (ไม่ครบ = ไม่สมควร) ปฏิรูปเทศ = ปฏิรูปะ + เทสะ ครบรูป เต็มรูป เป็นเนื้อเป็นตัว เช่น คน มี 2 ขา 2 แขน 1 ศรีษะ นก มี 2 ขา 2 ปีก หัวมีปาก ก้นมีหาง ปลา ไม่มีแขน มีหัว มีตัว มีหาง มีครีบ เงือก ตัวเป็นคน หางเป็นปลา กินนรี ตัวเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก

  20. แยกครอบครัว เป็นตัวของตัวเอง ยังไม่แยกครอบครัว รวมอยู่ในกงสีไม่เป็นตัวของตัว ปฏิรูปเทศ ประเทศที่มีรูปเฉพาะ มีเสรี มีเอกราช มีระบบการปกครองเป็นของตัวเอง เป็นตัวของตัว ทรัพย์ ชีวิต ความดี นุ่น กับ นก • เลือกอยู่ในปฏิรูปเทศ 2. ทำที่อยู่ให้เป็นปฏิรูปเทศ

  21. การสั่งสม กาย จิต วิชาความรู้ ความดีที่ทำ อาหาร กาย ความดีขึ้นของจิต = บุญ จิตวิญญาณ ผสมในกระเพราะ ทรงจำในจิต ความเลวลงของจิต = บาป ปรุงจิตให้ดี (บุญวาสนา) เลือดเนื้อ ร่างกาย 5. มีบุญวาสนา เปรียบเหมือนคุณภาพของเมล็ดพืช บุญวาสนาคืออะไร ? อำนาจบุญวาสนามีอะไร ? จะสร้างบุญวาสนาด้วยวิธีใด ?

  22. อำนาจบุญวาสนา แบบชาวบ้าน = ดวงดี / โชควาสนาดี แบบพุทธ = จิตดี มะม่วงสุก รสหวาน อร่อยดี (รสหวานมาจากอะไร) - ต้นมะม่วง - น้ำ + ปุ๋ย - เมล็ดมะม่วงเดิม (เชื้อพันธ์) สรุป ควรทำดีต่อไปเรื่อย ๆ

  23. ผ่านมาเป็นครั้งคราว เป็นงานขั้นหลัง 6. ตั้งตัวถูก อุปสรรคในชีวิต อากาศไม่อำนวย สุขภาพเสื่อม เจ็บป่วย สุดยอดของอุปสรรค คือ “การตั้งตัวผิด” การตั้งตัว มีที่ดิน เงินทุน ตำแหน่ง ฯลฯ คนยกของหนัก ตั้งตัว รับ(มี)ของหนัก งานอื่นๆ ก็เช่นกัน เช่น ชงกาแฟ หิ้วน้ำ ชกต่อยกัน ฯลฯ • ที่ว่าตั้งนั้น ตั้งอะไร ? • จะตั้งอย่างไร ?

  24. ตั้งอะไร ? คนทั้งโลก มีหลายพันล้านคน แต่มีเราตัวเดียว ถ้าเราตัวเดียวเข้าคุกก็หมดตัว / ถ้าเราตายก็ตายหมด ตั้งให้ถูกจุด ศูนย์กลางของตัวอยู่ที่ไหน ทรงผม เสื้อผ้า ฯลฯ ตั้งใจ = ตั้งตัว

  25. ไปสุโขทัย ไปอุตรดิตถ์ จะตั้งอย่างไร ? • ถูกทาง • ถูกวิธี ทางถูก = ทางดีทางผิด = ทางเสีย คนเราเลือกทาง 2 ครั้ง ก่อนอายุ 25 หลัง 25 เลือกวิธี

  26. ความคงแก่เรียน วินัยดี วาจาสุภาษิต พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

  27. 7. ความคงแก่เรียน - เพราะเหตุใดคนเราต้องเรียน ? การเรียน - แต่ละคนควรจะเรียนอะไรบ้าง ? คน + สัตว์อื่น สัตว์อื่น เกิดมาแล้ว กินๆ + นอนๆ ก็อยู่ได้ (ไม่จำเป็นต้องเรียน) คนเรา เกิดมาแล้วยังไม่เสร็จ ต้องตบแต่งเพิ่มเติม ทั้งกาย + ใจ ผมก็ต้องตัด / หน้าก็ต้องล้าง / จิตใจก็ต้องแต่ง ฯลฯ งานที่ทุกคนอยากจะทำ (งานของชีวิต 2 อย่าง) - หาความสุข ความเจริญ - ป้องกันความทุกข์ ความเสื่อม

  28. “ความรู้” กุญแจ เปิดสู่ โชคลาภแห่งชีวิต คนที่จะทำงาน 2 อย่างนี้ได้ ต้องรู้วิธีทำ ถ้าไม่รู้วิธีทำไม่ได้ ถ้าเดาเอาก็ทำได้บ้างแต่เอาดีได้ยาก งานชีวิตแต่ละอย่าง มีเงื่อนงำสลับซับซ้อน จะบริหารได้ดีต้องมีสิ่งหนึ่งเป็นปัจจัย สิ่งนั้นคือ ทรัพย์ ตำแหน่ง ยศ ชื่อเสียง ไมตรี

  29. ยิ่งโลกเจริญเท่าไหร่ คนที่รู้น้อย จะยิ่งลำบากมากขึ้นเรื่อย ๆ สิบคนช่วยกันยกของ ปัจจุบันใช้รถยกสิบคนขุดตอ ถางป่า ปัจจุบันใช้รถแทรคเตอร์ คนเราเกิดมาแล้ว ไม่มีความรู้ติดตัวมา (มีบ้าง) รู้จักหิวข้าว แต่ไม่รู้วิธีหาข้าว รู้จักเจ็บป่วย แต่ไม่รู้วิธีรักษา มีกระเป๋า แต่ไม่มีสตางค์ (ก็เป็นคนจน) (จนความรู้) ทุกคนเกิดมาใหม่ๆแล้ว จน ทุกคน แต่โชคดีที่ทุกคนเกิดมาแล้วมี ใจ ซึ่งสามารถทำให้เกิด ความรู้ ได้ ถ้าอยากมีความสุขความเจริญ แล้ว ให้ศึกษาหาความรู้ให้มาก

  30. ใจ กาย คดีโลก คดีธรรม ท่อนบน ท่อนล่าง ความรู้เกินเป็นเหตุให้ก้าวหน้า (เหมือนข้าวเปลือกในยุ้ง) วิชาที่ควรจะเรียน ถ้าเอาแต่ คดีโลก ตวง อย่างเดียวรวย - แต่ไม่น่ารักเป็นใหญ่เป็นโต - แต่ไม่น่าเคารพ “โลกอย่าให้ช้ำ - ธรรมอย่าให้เสีย” - เรียนจากครู / เรียนด้วยตนเอง

  31. ข้อ 7 ความรู้ ข้อ 8 มีศิลปะ ว่ายน้ำ ถีบจักรยาน ก่อสร้าง ฯลฯ ความรู้ ระยะสร้างตัว ต้น ใบ เปลือก ราก ฯลฯ ศิลปะ ระยะให้ผล ดอก + ผล 8. มีศิลปะ (สิปปะ = ศิลปะ) ศิลปะ หมายถึง ‘หัตถโกศล’ แปลว่า “ฉลาดทำ”= “ทำเป็น” รู้หลักวิชา ทำเป็น เรื่อง ศิลปินติ (พระเจ้า ฟักทอง และมะม่วง)

  32. ดาบคมที่ไม่มีฝัก - ระเบิดที่ไม่มีสลักนิรภัย ดาบ ควรมี ฝัก ระเบิด ควรมี สลัก ความรู้ ความเป็น ควรมี วินัย กำกับ 9. วินัยดี ‘ความรู้’ และ ‘ความเป็น’คือความแหลมคมของสติปัญญา ฟาดฟันได้สารพัดปัญหา หาก ไม่มี ‘วินัย’ กำกับแล้ว อาจมี คุณ+โทษ เท่ากัน คนมีความรู้และความเป็น (คนเก่ง) อาจฉ้อโกงเงิน เป็นร้อยล้าน และ ติดคุกเป็นสิบๆ ปี ฯลฯ

  33. คดีธรรม คดีโลก วินัยทางโลก วินัยทางธรรม ลักษณะวินัย (คริสต์) บัญญัติ 10 ประการ(อิสลาม) รุก่น(พุทธ) คฤหัสถ์ / บรรพชิตศีล ๕ ๘ / ๑๐ ๒๒๗ พรบ. พระราชกฤษฎีกา กฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศธรรมเนียม กติกา ฯลฯ

  34. ผู้อื่นและสังคมอยู่เป็นสุขผู้อื่นและสังคมอยู่เป็นสุข ปรับปรุงตัวให้ดีขึ้น - นำไปดี (วิเศษ)- นำไปแจ้ง- นำไปต่าง นำไป วิเศษ / แจ้ง / ต่าง ความสำคัญของวินัย ผลชั้นนอกผลชั้นใน วินัย = วิ + นี

  35. วินัย คือ แบบคน แบบ วินัยนำไปดี

  36. วินัย เปรียบเหมือนแสงสว่าง ส่องดูคน วินัยนำไปแจ้ง

  37. มีวินัย ขาดวินัย ภิกษุ ยาจก ตำรวจ นักเลง กองทหาร กองโจร วินัยดี 1. สุวินีตะ2. สุสิกขิตะ - ได้รับการแนะนำดี - ได้สำเนียกดี วินัยนำไปต่าง

  38. ของคาว - ของหวาน จังหวะ คำพูด เจตนา ไม่ระวังปากจะกลายเป็นหมูไม่ระวังหูจะเสียใจ 10. วาจาสุภาษิต ลมปาก ลมบก ลมทะเล ลมไต้ฝุ่น ลมสลาตัน น้ำตาล ลอดช่องแกงจืด แกงเผ็ดเป็ดตุ๋น ต้มยำซาหริ่ม ไอศกรีม ฯลฯ พูดดี – สุภาษิตพูดเสีย – ทุภาษิต วาจาสุภาษิต1. พูดถูกกาลเทศะ2. พูดคำที่เป็นความจริง3. พูดคำที่สุภาพ4. พูดคำที่มีประโยชน์5. พูดด้วยเมตตา

  39. โฆษณาสินค้า ฯลฯ เมตตา หวังดีต่อคนฟัง ให้เขาดี ให้เขาเจริญ วิธีกล่าวให้พร คำเท็จ 7 แบบปด / ทนสาบาน / ทำเล่ห์ / มารยาทำเลศ / เสริมความ / อำความ เจตนา 1. พูดเอา2. พูดให้ คำ 1. คำจริง2. คำสุภาพ3. คำมีประโยชน์ ใครเคยเห็นพระหล่อด้วยอากาศบ้าง ?

  40. กบ - เลื่อย - สิ่ว - ขวาน - กระดาษทราย ฯลฯ 3. คำมีประโยชน์ ผู้ฟัง ฟังแล้วได้ประโยชน์ 2. คำสุภาพ คำไม่สุภาพ 6 คำด่า / คำประชด / คำกระทบ / คำแดกดัน / คำต่ำ / คำสบถ คำหยาบ ไม่ละเอียด ฟังระคายหู คิดถึงก็ระคายใจ เสื้อ - เสื่อ - พื้น - เตียง - ตู้ ฯลฯ

  41. อันวาจา พาที นี้เป็นเอก จะปลุกเสก ให้คนชอบ ตอบสนอง จะต้องพูด ให้สนุก สุขสมปอง ขอรับรอง สำเร็จกิจ พิชิตชัย จะพูดจา อ่อนหวาน สักปานไหน ย่อมพูดได้ ถ้ารู้จัก หลักภาษา แต่ถ้าขาด ความจริงใจ ในวาจา จะควรค่า แก่ผู้ฟัง อย่าหวังเลย ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต แม้พูดชั่วตัวตายทำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา

  42. จะพูดจาปราศรัยกับใครนั้น อย่าตะคั้นตะคอกให้เคืองหู ไม่ควรพูดอื้ออึงขึ้นมึงกู คนจะหลู่ลวงลามไม่ขามใจ แม้จะเรียนวิชาทางค้าขาย อย่าปากร้ายพูดจาอัชฌาสัย จึงซื้อง่ายขายดีมีกำไร ด้วยเขาไม่เคืองจิตคิดระอา เป็นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา แม้พูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ

  43. ปากเป็นเอกเลขเป็นโทโบราณว่า หนังสือเป็นตรีมีปัญญาไม่เสียหลาย ถึงรู้มากไม่มีปากลำบากาย มีอุบายใช้ไม่เป็นเห็นป่วยการ

  44. จังหวะ สรุป ควรพูดคำสุภาษิตให้เป็น และให้ฟังคำสุภาษิตให้เป็น คำพูดสามชั้น - คำพูดจริง (ควรเชื่อ) - คำพูดจริงและสุภาพ (ควรเชื่อ+ควรฟัง) - คำพูดจริง, สุภาพ และเป็นประโยชน์ (ควรเชื่อ+ควรฟัง+ควรบูชา) คำพูดที่พูดเมื่อยังไม่ถึงเวลาที่ควรพูดนั้น เหมือนกับลูกกระสุนที่ยิงก่อนที่นกจะมาจับบนกิ่งไม้

  45. มงคลมีตั้ง 38 ข้อ รู้สึกเยอะเกินไป 1 วันมี 24 ชม. ไม่มีเวลา มงคลมีตั้ง 38 ข้อ เรียนเยอะเกินไปทำให้เฉื่อยชา ทำไรไม่ได้ เพราะห่วงธรรมะ รถยนต์ มีองค์ประกอบมาก ดูเกะกะ ยุ่งยาก แต่วิ่งเร็วกว่า เกวียนที่มีองค์ประกอบน้อย กว่า ของทุกอย่างแยกกันที่เหตุ รวมกันที่ผล มงคล – ทางก้าวหน้า ทอง – สุวรรณ – กิม – Gold อาหารหมู ไก่ น้ำปลา น้ำพริก หอม กระเทียม เกลือ ผัก น้ำมันพืช ฯลฯ ทานพร้อมๆ กัน เหมือนปฏิบัติมงคล พร้อมๆ กัน

  46. บำรุงบิดามารดา เลี้ยงดูบุตร / สงเคราะห์ภรรยา - สามี การงานไม่คั่งค้าง มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมังฯ

  47. เหมือนต้นไม้ ที่ดูดเอาปุ๋ย เอาน้ำเข้าไปหล่อเลี้ยงไว้เต็มต้น ถ้าไม่ผลิดอกออกผลให้คนได้กินได้ใช้ใครเขาจะนิยมปลูกก็หายาก 11. บำรุงบิดา-มารดา ท่าดี (มงคล 1 – 10) ปรับปรุงตัวเองให้เป็นคน เข้าท่า เพื่อจะบริหารชีวิตให้ก้าวหน้าต่อไป ทีไม่เหลว (มงคล 11 – 13) แสดงความดีต่อคนอื่น ตามสมควร บิดา-มารดา-บุตร-ภริยา ฯลฯ มิเช่นนั้น ยากที่ ผู้คนหรือสังคมจะนิยมชมชอบหรือให้ความสนับสนุน

  48. มาตา - แม่ปิตุ - พ่อปุตตะ - บุตรทาระ - ภรรยา ญาติทางสายโลหิต หากทำผิดต่อบุคคล 4 จำพวกนี้แล้วจะเกิดอัปมงคล ทำดีไม่ขึ้นแต่ถ้าไม่มีก็ไม่เป็นไร (คำสอนเผื่อมี) การนับมงคล บำรุงมารดาบิดาเลี้ยงดูบุตรภรรยา 37 ข้อ บำรุงมารดาบำรุงบิดาเลี้ยงดูบุตรสงเคราะห์ภรรยา บำรุงมารดาบำรุงบิดาเลี้ยงดูบุตรภรรยา 39 ข้อ 38 ข้อ คนใกล้ - คนใกล้ที่สุด คือ แม่ - ถัดออกมา คือ พ่อ - ถัดจากพ่อ คือ ลูก ญาติทางธรรม - ถัดจากลูก คือ ภรรยา / สามี บำรุงมารดาบิดาเลี้ยงดูบุตรสงเคราะห์ภรรยา

  49. ของเกิดขึ้นเอง - ของทำให้มีขึ้น ดินตามทุ่ง -ปั้นเป็นชาม หม้อ ไห ฯลฯ ซุงในป่า - แกะสลักเป็นพระพุทธรูป ฯลฯ เป็นเอง (ค่าน้อย) - ทำให้เป็น (ค่ามากกว่า) พ่อแม่: ให้กำเนิดลูก อุปการะเลี้ยงดูลูก ลูก: รู้ว่า นี่พ่อ นี่แม่ รู้จักบุญคุณ พ่อ แม่ สามีภรรยา: มีอะไรกัน เห็นอกเห็นใจ คุณธรรม สภาวะธรรม การปฏิบัติธรรม เราทำให้เป็นจึงมี เป็นธรรมดา เกิดขึ้นเอง เช่น ความเป็นเด็ก ความเป็นหนุ่มเป็นสาว ความแก่ ความตาย ความหิว ความง่วง ฯลฯ

More Related