260 likes | 658 Views
การประชุมคณะกรรมการทีมตรวจประเมิน มาตรฐาน สถานที่ ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตขั้นต้น ( Primary GMP Team ) ครั้งที่ 1/ 2557. วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุม 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี.
E N D
การประชุมคณะกรรมการทีมตรวจประเมินมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตขั้นต้น (Primary GMP Team)ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 ณ ห้องประชุม 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
ยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของ ประเทศ (ครัวไทยสู่ครัวโลก)
โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายเข้าสู่ มาตรฐาน Primary GMP ปีงบประมาณ 2557
เป้าหมาย : การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารไทย ด้วย Primary GMP • ลดความเสี่ยงอันตรายของอาหาร • ยกระดับมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหารสำหรับบริโภค • ภายในประเทศ • เป็นมาตรการเพื่อการกำกับดูแลอาหารนำเข้า/ส่งออก • สำหรับรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • การเพิ่มขีดความสามารถให้ SME และ OTOP สู่สากล • ครัวไทยสู่ครัวโลก • เข้าสู่อาเซียน(AEC) มาตรฐาน (GMP/ GMP เฉพาะผลิตภัณฑ์) INDUSTRIAL การผลิตระดับอุตสาหกรรม มาตรฐาน (GMP) SME การผลิตในระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม OTOP ยกระดับมาตรฐาน (Primary GMP) การผลิตในระดับครัวเรือนและชุมชน 4 4
Primary GMP คือ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหารขั้นต้น ประกาศใช้เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555 และมีผลบังคับใช้วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 มีประกาศที่เกี่ยวข้อง 2 ฉบับ คือ 1. ประกาศกระทรวงฯ (ฉบับที่ 342)พ.ศ. 2555 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 2. ประกาศกระทรวงฯ (ฉบับที่ 343)พ.ศ. 2555 เรื่อง ฉลาก (ฉบับที่ 3) เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการยกระดับมาตรฐานอาหารพื้นบ้าน/OTOP/วิสาหกิจชุม รองรับอาเซียนในปี 2558 และพร้อมเป็น ครัวไทยสู่ครัวโลก เป้าหมาย
ภาวะคุกคาม อาหารพื้นบ้าน / ของฝาก / OTOP สินค้ามีเอกลักษณ์ อร่อย สามารถสร้างรายได้แก่ชุมชน จุดแข็ง(Strength) สินค้ายังไม่ได้รับมาตรฐาน ขายไม่ได้ราคา จุดอ่อน (Weakness) - ภูมิประเทศเหมาะทำการเพาะ ปลูกสินค้าเกษตร - ผู้บริโภคนิยมซื้อสินค้า Primary GMP เป็นของฝากประจำถิ่น โอกาส (Opportunity) ผลิตภัณฑ์สินค้าอาหาร OTOP≈ 20,000 ผลิตภัณฑ์รวมมูลค่ากว่า 30,000 ล้านบาท AEC 2015 สินค้าต่างประเทศ ทะลัก ไม่สามารถแข่งขันได้ มีผลให้มูลค่าสินค้าลดลง อุปสรรค (Threats)
ผลกระทบ AEC ปี 2015 ต่อการกำกับดูแลคุณภาพมาตรฐานอาหารของไทย สินค้าอาหาร ทะลักเข้าประเทศมากขึ้น ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง (Hub) • เศรษฐกิจ ธุรกิจท่องเที่ยวขยายตัว • ธุรกิจอาหารเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น ร้านอาหาร ภัตตาคาร ต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งเพื่อ... การคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศ การค้า/การส่งออกอาหาร 7
จึงต้องมีกฎหมาย Primary GMP เพื่อให้สามารถผลิตอาหารที่มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ และสามารถแข่งขันในตลาดอาเซียนได้ Primary GMP ยกระดับอาหารพื้นบ้าน / ของฝาก / OTOP รองรับอาเซียนในปี 2558 ของฝาก
ผลลัพธ์ • เพิ่มจุดแข็ง • มีมาตรฐาน สามารถแข่งขันในตลาดโลก • เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ • กำจัดจุดอ่อน • สร้างมูลค่า สินค้าขายได้ • มีความยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับ • ลดอุปสรรค สร้างโอกาส • สร้างช่องทางการตลาด • สร้างรายได้แก่ชุมชน พร้อมเป็นครัวไทยสู่ครัวโลก
แนวคิดบูรณาการ 1 ทีม 1 อำเภอ กระทรวงต่าง ๆ บทบาทหน้าที่ • ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน • ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP • กำกับตรวจสอบกระบวนการผลิต และส่งเสริมอุตสาหกรรม • ส่งเสริมการตลาด • กำกับดุแลผู้ประกอบการและ • ความปลอดภัยของผู้บริโภค • ส่งเสริมนวัตกรรมอาหาร • ส่งเสริมการส่งออก • ส่งเสริมด้านความเป็นเอกลักษณ์ • ของสินค้าไทย • สื่อสารประชาสัมพันธ์สินค้าไทย
MOU หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงมหาดไทย - กรมพัฒนาชุมชน(สำนักส่งเสริมภูมิปัญหาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน) - สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด - สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ กระทรวงสาธารณสุข - อย. - กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - สำนักงานเกษตรจังหวัด - สำนักงานเกษตรอำเภอ
คำสั่งจังหวัดอุทัยธานี ที่ 583/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการทีม ตรวจประเมินมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหารตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตขั้นต้น (Primary GMP Team)
1. คณะกรรมการอำนวยการจังหวัดอุทัยธานี 1.1 ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี ที่ปรึกษา 1.2 รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี (ฝ่ายเศรษฐกิจและสังคม) ประธานกรรมการ 1.3 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี รองประธานกรรมการ 1.4 พัฒนาการจังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.5 เกษตรจังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.6 เกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.7 ปศุสัตว์จังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.8 ท้องถิ่นจังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.9 อุตสาหกรรมจังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.10 ประมงจังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.11 สหกรณ์จังหวัดอุทัยธานี กรรมการ 1.12 หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข กรรมการและเลขานุการ 1.13 เภสัชกร กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ผู้ช่วยเลขานุการ
1. คณะกรรมการอำนวยการจังหวัดอุทัยธานี • โดยมีอำนาจหน้าที่ 1. กำหนดนโยบาย กรอบแนวทาง ให้ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯ ตามมาตรฐาน Primary GMP 2. อำนวยการ ควบคุม กำกับ การดำเนินงานให้บรรลุตามเป้าหมายและแผนงาน 3. ประสานงาน และบูรณาการระหว่างหน่วยงานภายในจังหวัดอุทัยธานี ให้ประสบผลสำเร็จ 4. กำกับติดตาม ดูแลการดำเนินงานของคณะกรรมการ และแก้ไขปัญหาอุปสรรคให้บรรจุตามเป้าหมาย
2. คณะกรรมการ Primary GMP Team ระดับจังหวัด 2.1 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ประธานกรรมการ 2.2 หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข กรรมการ 2.3 หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน กรรมการ 2.4 นักวิชาการพัฒนาชุมชน กรรมการ 2.5 หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร กรรมการ 2.6 นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร กรรมการ 2.7 เภสัชกร กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข กรรมการและเลขานุการ
2. คณะกรรมการ Primary GMP Team ระดับจังหวัด • โดยมีอำนาจหน้าที่ 1. วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหา และจัดทำแผนบูรณาการดำเนินงานแผนส่งเสริมและพัฒนา ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯตามมาตรฐาน Primary GMP ระดับจังหวัด 2. ให้คำปรึกษาด้านวิชาการ การขออนุญาตและพัฒนาสถานที่ผลิตให้กับทีม Primary GMP ระดับอำเภอ รวมทั้งประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ อย.เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ ทีม Primary GMP ระดับอำเภอให้มีประสิทธิภาพ 3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผน 4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินกิจกรรมในแผนส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯตามมาตรฐาน Primary GMP 5. สรุปผล และรายงานผลการดำเนินงาน ต่อ คณะกรรมการอำนวยการ ระดับจังหวัด
3. คณะกรรมการ Primary GMP Team ระดับอำเภอ 3.1 นายอำเภอ ประธานกรรมการ 3.2 พัฒนาการอำเภอ กรรมการ 3.3 เกษตรอำเภอ กรรมการ 3.4 ท้องถิ่นอำเภอ กรรมการ 3.5 ประมงอำเภอ กรรมการ 3.6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง กรรมการ 3.7 สาธารณสุขอำเภอ กรรมการและเลขานุการ
3. คณะกรรมการ Primary GMP Team ระดับอำเภอ • โดยมีอำนาจหน้าที่ 1. วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหา กำหนดเป้าหมายและจัดทำแผนบูรณาการดำเนินงานแผนส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯตามมาตรฐาน Primary GMP ระดับอำเภอ 2. ดำเนินงานแผนส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯตามมาตรฐาน Primary GMP 3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผน 4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินกิจกรรมในแผนส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯตามมาตรฐาน Primary GMP 5. สรุปผล และรายงานผลการดำเนินงาน แก่คณะกรรมการอำนวยการ ระดับจังหวัด
4. คณะทำงาน Primary GMP Team 4.1 สาธารณสุขอำเภอ หัวหน้าคณะทำงาน 4.2 นักวิชาการพัฒนาชุมชนผู้รับผิดชอบงานโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) คณะทำงาน 4.3 นักวิชาการเกษตรผู้รับผิดชอบงานสถาบันเกษตรกร คณะทำงาน 4.4 เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองฯ เลขานุการ
4. คณะทำงาน Primary GMP Team • โดยมีอำนาจหน้าที่ 1. ตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารอาหารแปรรูปฯ ตามหลักเกณฑ์ Primary GMPพร้อมจัดทำบันทึกการตรวจประเมิน 2. ให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการในการพัฒนาสถานที่ผลิตตามหลักเกณฑ์ Primary GMP 3. รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปฯ ติดตามสรุปและรายงานผลการตรวจประเมินให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี 4. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินกิจกรรมในแผนส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปฯตามมาตรฐาน Primary GMP แก่ผู้ประกอบการ
วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาและยกระดับสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ผ่านมาตรฐาน Primary GMP • เพื่อสร้างทีม Primary GMP ระดับอำเภอ (1 ทีม 1 อำเภอ) • เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการประสานงานและบูรณาการระหว่างหน่วยงานในการดำเนินงาน Primary GMP • เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่าย Primary GMP • เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ให้เกิดการรับรู้ของผู้บริโภค และผู้ประกอบการเกิดความกระตือรือร้น ตระหนักในการพัฒนาสถานที่ผลิต
เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการประเมินผลปีงบประมาณ2557 เป้าหมาย 1. สถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายผ่านมาตรฐาน primary GMP 2. เกิดทีม primary GMP ระดับอำเภอ (1 ทีม 1 อำเภอ) KPI แนวทางการประเมินผล 1. ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายที่มายื่นได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ Primary GMP เป้าหมาย ร้อยละ 75 2. ร้อยละการเกิดทีม Primary GMP ระดับอำเภอ ในอำเภอที่มีสถานประกอบการแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายของจังหวัด เป้าหมาย ร้อยละ 100 1. คำสั่งคระทำงานพัฒนาสถานประกอบการตามมาตรฐาน Primary GMP ระดับอำเภอครบทุกอำเภอ ที่มีองค์ประกอบหลักจาก 3 หน่วยงาน 1) กระทรวงเกษตรฯ 2)กระทรวงมหาดไทย 3) กระทรวงสาธารณสุข 2. แผนการดำเนินงานพัฒนาสถานประกอบการตามมาตรฐาน Primary GMP ระดับอำเภอที่ประกอบด้วย -กำหนดเป้าหมายสถานประกอบการที่จะพัฒนา - กำหนดแนวทางการพัฒนายกระดับมาตรฐาน - งบประมาณสนับสนุนและผู้รับผิดชอบ 3. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนฯ 4. รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายของระดับอำเภอ และรวบรวมส่งเป็นฐานข้อมูลในระดับจังหวัดต่อไป 1. ร้อยละของผู้ประกอบการอาหารแปรรูปฯ ได้รับอนุญาตตามเกณฑ์ primary GMP ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของผู้มายื่นขออนุญาต 2. เกิดทีม primary GMP ระดับอำเภอ (1 ทีม 1 อำเภอ) ร้อยละ 100
แผนการดำเนินงานโครงการ Primary GMP ปี 2557 1 ทีม 1 อำเภอ ตค.-ธค. 56 มค. – มีค. 57 เมย. - มิย.57 กค. – กย. 57 1. ติดตามรายงานและผลการดำเนินงานของแต่ละ1 ทีม 1 อำเภอ 2. รวบรวมฐานข้อมูลจากการดำเนินงานของอำเภอและจังหวัด 3. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ 1. ประชุมหารือแนวทางการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. กำหนดนโยบายและวางแผนการดำเนินงาน 3. ประชาสัมพันธ์ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการสร้างทีม Primary GMP 2. พัฒนาศักยภาพ&สนับสนุนงบประมาณ และสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ อาทิ แผ่นพับ 1 ทีม 1 อำเภอ ฯลฯ 3. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ กิจกรรม 1. สรุปผลการดำเนินงาน 2. รวบรวม และเชื่อมโยงข้อมูลจากอำเภอและจังหวัดพร้อมจัดทำฐานข้อมูล OUT PUT 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบและเข้าใจส่วนงานของตนเอง 2. เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดทราบถึงแนวทางการดำเนินงานและสามารถส่งต่อลงสู่อำเภอ 1. มีกิจกรรมเพื่ออบรม รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ รวมถึงการลงพื้นที่ ตรวจสอบ และให้คำปรึกษาสถานประกอบการ 2. มีฐานข้อมูล รายงานสรุปผล วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน 1.เกิดทีม Primary GMP ระดับอำเภอ 2. เจ้าหน้าที่มีศักยภาพและเครื่องมือในการดำเนินงาน
ความเชื่อมโยงแผนการดำเนินงาน OTOP ปี พ.ศ.2556-2558 ระดับชาติ ยุทธศาสตร์ครัวไทยสู่ครัวโลก ยุทธศาสตร์การค้าโอทอป นโยบายรัฐบาล Countrystrategy 1. พัฒนา/ยกระดับมาตรฐานการผลิต 2. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านการตลาด 3. วิจัย/พัฒนาเพิ่มคุณค่าให้แก่วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ 4. พัฒนาบุคลากร การจัดการองค์ความรู้ 1. สร้างโอกาสและรายได้แก่วิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อมและ OTOP สู่สากล2. การเพิ่มขีดความ สามารถให้ SME และ OTOP สู่สากล 1. สร้างภาพลักษณ์สินค้า OTOP ไทยและส่งเสริมการส่งออก 2. พัฒนาและขยายช่องทางการค้าในประเทศ 3. สนับสนุนภาคเอกชนให้มีกิจกรรมสนับสนุน OTOP • OTOP • ASEAN • Primary GMP ระดับกระทรวง นโยบายกระทรวงสาธารณสุข นโยบายกระทรวงมหาดไทย นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1. พัฒนาขีดความสามารถในการผลิตการจัดการสินค้าเกษตร และความมั่นคงอาหาร2. เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบการผลิต การตลาด และการเงินของสหกรณ์ 1. สนับสนุน นโยบาย OTOP 2. ปรับกฎหมายให้สอดคล้อง ASEAN 1. บริหารจัดการโครงการ OTOP ให้มีศักยภาพ2. พัฒนาผู้ผลิต/ผู้ประกอบ การ และการตลาด OTOP ระดับกรม อย. กรมพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ • ส่งเสริมและพัฒนา • ผู้ผลิต ผู้ประกอบกา • 2.ส่งเสริมช่องทาง • การตลาด • 3.ส่งเสริมประสิทธิภาพ • การบริหารจัดการ • ส่งเสริมและพัฒนา • เกษตรกรและองค • เกษตรกร • 2.พัฒนา ส่งเสริม และ • ประสานการถ่ายทอด • ความรู้ด้านการผลิต เพิ่มศักยภาพการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบการผลิต การตลาด และการเงินของสหกรณ์ • ส่งเสริม OTOP • Primary GMP เพื่อส่งเสริมครัวไทยสู่ครัวโลก