310 likes | 433 Views
แนวทางการดำเนินงานโครงการ ที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555. นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ. รองอธิบดีกรมการข้าว. นโยบายของรัฐบาล (ภาคเกษตร).
E N D
แนวทางการดำเนินงานโครงการที่สำคัญของกรมการข้าว ปี 2555 นายชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ รองอธิบดีกรมการข้าว
นโยบายของรัฐบาล (ภาคเกษตร) ข้อ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชโดยการวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก และถ่ายทอดองค์ความรู้จากการวิจัยไปสู่เกษตรกร เพื่อให้มีการใช้พันธุ์ดี ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยการใช้ปุ๋ยตามคุณสมบัติของดินแต่ละชนิด ทั้งนี้ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต
นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์นโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การพัฒนาการผลิต Agenda Based การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุน ลุ่มน้ำปากพนังฯ ชายแดนใต้ฯ Area Based Commodity Based นิคมการเกษตร ฯลฯ
โครงการสำคัญ (Flagship Projects)ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • โครงการจัดระบบการปลูกข้าว ความเป็นมา : • ปัญหาวิกฤตน้ำ ดิน ศัตรูพืช ระบบนิเวศ และต้นทุนการผลิต • 22 มีนาคม 2554 ครม.เห็นชอบ • ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 ปี (2554-2557)
โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ปี 2554 ปลูกพืชปุ๋ยสด 100,000 ไร่ และจัดเตรียม เมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ชั้นพันธุ์ขยาย 350 ตัน ชั้นพันธุ์จำหน่าย 3,500 ตัน • ปี 2555–2557 มีพื้นที่ดำเนินการปีละ 1.5 ล้านไร่ ดังนี้ • ปลูกถั่วเขียว 700,000 ไร่ • ปลูกพืชอื่นๆ 150,000 ไร่ • ปลูกพืชปุ๋ยสด 150,000 ไร่ • ปลูกข้าวพร้อมกัน 500,000 ไร่ ในพื้นที่เดียวกัน งบประมาณ 880 ล้านบาท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • กรมชลประทาน สำรวจข้อมูล • กรมพัฒนาที่ดิน พืชปุ๋ยสด • กรมวิชาการเกษตร เมล็ดพันธุ์พืชหลังนา • กรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลิตเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ชั้นพันธุ์จำหน่ายและการตลาด • กรมการข้าว เจ้าภาพหลัก • กรมส่งเสริมการเกษตร ฝึกอบรมเกษตรกร • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประเมินผล โครงการ โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการสำคัญ (Flagship Projects)ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • โครงการส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต สภาพปัญหา : • ชาวนามีการใช้เทคโนโลยีการผลิตไม่ถูกต้องและเหมาะสม เนื่องจากชาวนาส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ตั้งแต่เรื่องการใช้เมล็ดพันธุ์ดี ระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูก การใช้ปุ๋ยเคมี การใช้สารเคมีและการดูแลรักษา
โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความเป็นมา : • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีนโยบายสำคัญในการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร และได้แต่งตั้งคณะกรรมการฯขึ้น เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2552โดยมีที่ปรึกษารมว.กษ. ดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย เป็นประธาน และได้เลือกให้ข้าวเป็นพืชนำร่อง • ปี 2554 กรมการข้าวได้ดำเนินการจัดทำหมู่บ้านลดต้นทุนการผลิตข้าว 12 แห่ง ได้แก่ อ่างทอง นครพนม อุดรธานี อำนาจเจริญ สุรินทร์ นครศรีธรรมราช ขอนแก่น พิษณุโลก อุทัยธานี กำแพงเพชร อุตรดิตถ์ และนครปฐม
โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประเด็นเทคโนโลยี : • คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว • อัตราเมล็ดพันธุ์ข้าว • การเตรียมดิน • การใส่ปุ๋ย • การใช้สารเคมี • การจัดการน้ำ • การบันทึกข้อมูล
โครงการสำคัญ (Flagship Projects) ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วิธีดำเนินงาน : • การจัดเวทีระดมสมองเพื่อวิเคราะห์พื้นที่ • สำรวจข้อมูล ก่อนและหลังดำเนินงาน • จัดทำหมู่บ้านลดต้นทุน • แปลงเรียนรู้ 20 ไร่ • แปลงขยายผล 300 ไร่ • การจัดงานวันรณรงค์สาธิตการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและนำเกษตรกรศึกษาดูงาน เป้าหมาย : ลดต้นทุนการผลิตข้าวไม่น้อยกว่า 1,000 บาท/ตัน
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ปี 2554-2556 โครงการต่อเนื่อง ขอบเขตการดำเนินงาน : • พัฒนาศูนย์หลัก 5 ศูนย์ ศูนย์เครือข่าย 50 ศูนย์ ในพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ สุรินทร์ อุดรธานี อำนาจเจริญ นครสวรรค์ และ อ่างทอง
โครงการต่อเนื่อง • โครงการ AFTAปี 2554-2556 ศมข./ศวข. ศขช.2 ศูนย์บริการชาวนา ศขช. 3 ศขช. 9 ศขช. 4 ศขช.10 ศขช. 5 ศขช. 7 ศูนย์ข้าวชุมชนหลักและศูนย์ข้าวชุมชนเครือข่าย ศขช. 1 • ศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าว • แปลงเรียนรู้ • ห้องสมุดชาวนา • อบรมชาวนา ศูนย์หลัก ศขช. 8 • พยากรณ์การระบาดศัตรูข้าว • สำรวจข้อมูลสภาพอากาศ • สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ศัตรูข้าว • เผยแพร่และเตือนภัยการ ระบาด ศขช. 6 • ศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว • ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว • ให้บริการปรับปรุงสภาพ เมล็ดพันธุ์และบรรจุถุง • บริการลานตากข้าว • ศูนย์บริการชาวนาเครือข่าย • ข้อมูลการวินิจฉัยศัตรูข้าว • ข้อมูลการตลาดข้าว • ศูนย์เรียนรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าว • โรงสีชุมชน • อบรมให้ความรู้ด้านการแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ 12
โครงการต่อเนื่อง • โครงการ AFTAปี 2554-2556 กิจกรรมหลัก: • การจัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชนรูปแบบใหม่ • การสร้างระบบพยากรณ์เตือนภัย โดยการจัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูข้าวชุมชน • การพัฒนาศูนย์บริการชาวนา • หมู่บ้านต้นแบบลดต้นทุนการผลิตข้าว • การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้และบริการเครื่องจักรกลในการปลูกข้าว
โครงการต่อเนื่อง • โครงการ AFTAปี 2554-2556 งบประมาณ : 128 ล้านบาท แผนการดำเนินงาน : • จัดให้มีพิธีเปิดและงานวันรณรงค์ 5 ครั้ง เดือนต.ค. – พ.ย. • จัดทำโครงการขยายผล 10 จังหวัด เดือน ธ.ค.
โครงการต่อเนื่อง • การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา ความเป็นมา : • ชาวนาขาดหลักประกันและความมั่นคงในอาชีพการทำนา • ยุทธศาสตร์ข้าวไทย ปี 2550-2554กลยุทธ์การส่งเสริมและสนับสนุนชาวนา (ข้อ 6) สนับสนุนให้มีสวัสดิการชาวนา • 30 มกราคม 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แต่งตั้งคณะทำงานโดยมีที่ปรึกษา รมว.กษดร.อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย เป็นประธานคณะทำงาน
โครงการต่อเนื่อง • การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา สาระสำคัญ : • พรบ.กองทุนสวัสดิการชาวนา มี 6 หมวด 59 มาตรา • ให้กองทุนเป็นหน่วยงานของรัฐและมีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ • มีคณะกรรมการบริหารกองทุนสวัดิการชาวนา จำนวน 12 คน • กองทุน ประกอบด้วยเงินสะสมจากชาวนา 1 ส่วน และรัฐบาล 1.5 ส่วน • สมาชิกมีสิทธิได้รับสวัสดิการ เป็นสวัสดิการรายเดือน (บำนาญ) และสิทธิประโยชน์อื่นๆ
โครงการต่อเนื่อง • การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวนา ผลความก้าวหน้า : • 17 สิงหาคม 2553 กขช. มีมติเห็นชอบ • 10 กันยายน – 9 พฤศจิกายน 2553รับฟังความคิดเห็น 40 จังหวัด รวม 8 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม 1,850 คน • 12 เมษายน 2554 มติครม. อนุมัติหลักการและเห็นควรให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา • 11 สิงหาคม 2554 กรมการข้าวร่วมประชุมชี้แจงคณะกรรมการกฤษฎีกาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โครงการต่อเนื่อง • ศูนย์วิจัยและพัฒนาข้าวแห่งชาติ ศูนย์วิจัยและพัฒนาข้าวแห่งชาติ
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือสู่ความยั่งยืน
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้อมูลข้าว นาปี ปี2553
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้อมูลข้าว นาปรัง ปี2553
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สภาพปัญหา : • ระบบชลประทาน • คุณภาพดิน • ข้อจำกัดเรื่องพันธุ์ข้าวและเมล็ดพันธุ์ • ช่วงเวลาปลูกข้าว • เทคโนโลยี • โรคไหม้ • ข้าวปนเปื้อน • คุณภาพข้าว (ความหอม)
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป้าหมาย : • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าว • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีให้เพียงพอ • การจัดระบบการปลูกข้าว • ยกระดับคุณภาพข้าวด้วย GAP • ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตข้าวอินทรีย์
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การพัฒนาข้าวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว 600,000 ตัน/ปี สภาพปัญหา : เมล็ดพันธุ์ข้าวไม่เพียงพอและส่วนหนึ่งไม่ได้มาตรฐาน ความต้องการทั้งประเทศ :
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว ปริมาณการผลิตเมล็ดพันธุ์ ปี 2554 : กรมการข้าว 100,000 ตัน สหกรณ์ 250,000 ตัน ศูนย์ข้าวชุมชน 100,000 ตัน ชาวนาก้าวหน้า/ 150,000 ตัน เอกชน/ชมรมฯ รวม375,000ตัน
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • จัดทำยุทธศาสตร์การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว 2555-2558 ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์หลัก • การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีประสิทธิภาพ • การสร้างความเข้มแข็งของผู้ผลิตและผู้จำหน่าย • การควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผลิตและจำหน่ายให้ได้มาตรฐาน • การกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวอย่างเพียงพอและทั่วถึง
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • การพัฒนารูปแบบและวิธีการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน ข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ข้าวชุมชน • จำนวน 4,625 ศูนย์ • สมาชิก 143,258 ราย • เงินกองทุน 417 ล้านบาท • ผลิตเมล็ดพันธุ์ 104,244 ตัน (2,016 ศูนย์)
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • การพัฒนารูปแบบและวิธีการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน 1. การใช้ AFTA Model 2. การใช้Chainat Model โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชมรมผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์เข้ามาเป็นเครือข่าย 3. การใช้Khonkaen Model โดยการให้ ธ.ก.ส. เข้ามาร่วมทำงานกับกรมการข้าวและศูนย์ข้าวชุมชน 4. การใช้PhraeModel ที่จะจัดตั้งโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อความมั่นคง
กรอบแนวคิดการดำเนินงาน ปี 2555 • การผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว เป้าหมาย : • ลดปริมาณการผลิตของสำนักเมล็ดพันธุ์ข้าว • เพิ่มศักยภาพการผลิตของศูนย์ข้าวชุมชนและชมรมผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ • กรมการข้าวเน้นการตรวจสอบรับรองคุณภาพและการควบคุมบังคับใช้กฎหมาย • การเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ข้าวให้กระจายไปทั่วประเทศภายใน 3 ปี (2555-2557)