640 likes | 958 Views
การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ. พิเชษฐ์ ตระกูลกาญจน์ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 30 มีนาคม 2552 กระทรวงมหาดไทย. การบริหารราชการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. มุ่งเน้นผลลัพธ์. การบริหารงาน มุ่งเน้นผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ที่สอดคล้องเป็นไปในแนวทางเดียวกับ ภารกิจและวัตถุประสงค์
E N D
การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการการประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ พิเชษฐ์ ตระกูลกาญจน์ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 30 มีนาคม 2552 กระทรวงมหาดไทย
การบริหารราชการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารราชการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ มุ่งเน้นผลลัพธ์ การบริหารงานมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ที่สอดคล้องเป็นไปในแนวทางเดียวกับภารกิจและวัตถุประสงค์ ที่กำหนดขึ้นไว้สำหรับงานนั้นๆ โดยผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีความคุ้มค่ากับการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถกำหนดตัวชี้วัดผลการทำงานได้อย่างชัดเจน ซึ่งจะแสดงผลถึงความสามารถในการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นประโยชน์ตรงต่อความต้องการของประชาชน ภารกิจและวัตถุประสงค์ คุ้มค่ากับการใช้ทรัพยากร กำหนดตัวชี้วัดผลการทำงาน เป็นประโยชน์ตรงต่อความต้องการ
ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลสัมฤทธิ์ (Results) ผลที่เกิดขึ้นทันทีที่มีการดำเนินงาน/ โครงการ หรือทันทีที่งาน/โครงการ แล้วเสร็จ ผลผลิต (Output) ผลที่ตามมาหลังจากเกิดผลผลิต (Output)แล้วหรือผลที่เกิดจากการใช้ ประโยชน์จากผลผลิต ผลลัพท์ (Outcome)
ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน Correct Timely Complete ข้อมูล ปัจจัยหลักสำคัญที่ทำให้การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ประสบความสำเร็จคือการมีระบบข้อมูลที่เที่ยงตรง เชื่อถือได้
การประเมินผล เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เป็นการวัดผลความต่อเนื่องในการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามนโยบาย แผนงาน เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของงานในภาพรวมและงานแต่ละด้านของหน่วยงาน ใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับ ตรวจสอบการปฏิบัติงาน/การใช้ทรัพยากรของหน่วยงานให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ : ประเด็นการประเมินผล Economy Efficiency Effectiveness :ตัวชี้วัดการดำเนินงาน ได้แก่ Input Process Output Outcome Impact
“การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ”“การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ” วัตถุประสงค์ ประหยัด Economy ปริมาณ Quantity Inputs คุณภาพ Quality ประสิทธิภาพ Efficiency Processes ระยะเวลา Time Outputs ผลสัมฤทธิ์ ประสิทธิผล Effectiveness ค่าใช้จ่าย Cost Outcomes
การวัดผลการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ/ผู้บริหารโครงการ ควรพิจารณาถึง.... 1.อะไรคือสิ่งที่โครงการจะต้องประสบความสำเร็จ (อะไรคือความสำเร็จของโครงการ) 2.การที่จะประสบความสำเร็จได้นั้นเกี่ยวโยงกับกิจกรรมการดำเนินโครงการอย่างไร 3.อะไรคือปัจจัยสำคัญที่จะทำให้โครงการประสบความสำเร็จ
Why (จะทำไปทำไม?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... โครงการนั้นมีเหตุผลอย่างไรที่จะต้องทำ มีความจำเป็นอย่างไรจึงต้องทำโครงการนี้ ข้อมูลสภาพปัญหา ข้อมูลสภาพแวดล้อมทั่วไปเกี่ยวกับโครงการที่นำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการต้องชัดเจน ครบถ้วน และเป็นจริง 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
What (จะทำอะไร?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... โครงการนั้นมีวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ชัดเจนหรือไม่ วัตถุประสงค์มีความสอดคล้องกับนโยบายมากน้อยเพียงใด กิจกรรมใดบ้างที่ต้องดำเนินการ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือไม่ มีการกำหนดแผน/แนวทางการดำเนินงานแต่ละกิจกรรม/ขั้นตอนอย่างชัดเจนหรือไม่ 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
When (จะทำเมื่อใด?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... โครงการนั้น จะเริ่มดำเนินงานและสิ้นสุด แล้วเสร็จเมื่อใด ระยะเวลาและช่วงการดำเนินงานเหมาะสมหรือไม่ ระยะเวลาของแต่ละกิจกรรมสอดคล้อง เหมาะสมหรือไม่ 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
Where (จะทำที่ไหน?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... สถานที่ของการดำเนินงานโครงการอยู่ที่ใด เป็นแหล่งหรือสถานที่เหมาะสมหรือไม่ 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
Who (ใครทำ?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... ใครบ้างเป็นผู้ทำโครงการนั้น ผู้รับผิดชอบมีคุณสมบัติและความเหมาะสมหรือไม่ หากมีหลายหน่วยงาน มีการกำหนดหน่วยงานหลักหรือเจ้าภาพไว้อย่างชัดเจน เหมาะสมหรือไม่ และมีการกำหนดบทบาทแต่ละหน่วยงานไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
Whom (ทำเพื่อใคร?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์จากโครงการเป็นใคร มีความต้องการ จำเป็น เหมาะสมหรือไม่ ความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย สภาพแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณีปฏิบัติด้านสังคมของกลุ่มเป้าหมาย เป็นอย่างไร 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
How (ทำอย่างไร?).. จะต้องวิเคราะห์ว่า... มีวิธีการดำเนินงาน หรือบริหารโครงการอย่างไร จึงจะทำให้โครงการบรรลุเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ พิจารณาปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ และกลยุทธ์การดำเนินงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลและความคุ้มค่า 6W……1H..ที่ผู้จัดทำโครงการหรือผู้วิเคราะห์โครงการต้องคำนึงถึง Why What When Where Who Whom How
ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ Critical Success Factors - CSFs เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการบรรลุความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เป็นแนวทางที่เป็นรูปธรรมในการยึดโยงการปฏิบัติงานทุกระดับให้มุ่งไปในทิศทางเดียวกัน ทำให้ผู้ที่รับผิดชอบโครงการและผู้บริหารโครงการรู้ว่าต้องทำสิ่งใดบ้างเพื่อให้โครงการบรรลุผลสัมฤทธิ์และบรรลุตามวัตถุประสงค์ CSFs ไม่จำเป็นต้องวัดผลได้ แต่จะทำหน้าที่ชี้นำ หรือเป็นหลักหมายสำคัญต่อการบรรลุวัตถุประสงค์
ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ Critical Success Factors - CSFs กำหนดจากวัตถุประสงค์หรือภารกิจของการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้เกณฑ์ต่อไปนี้... 1.มุ่งความสำคัญไปที่ผลผลิตและผลลัพธ์ 2.มีความเชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ของการดำเนินโครงการ 3.มีความหมายที่เฉพาะเจาะจงและสามารถเข้าใจได้ง่าย 4.ผู้บริหารให้การยอมรับ 5.หน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถควบคุมผลให้เกิดขึ้นได้ในทางปฏิบัติ
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก Key Performance Indicators - KPIs KPIs ใช้วัดความก้าวหน้าของการบรรลุปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ หรือผลสัมฤทธิ์ของโครงการ โดยการวัดผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับมาตรฐานหรือเป้าหมายที่กำหนดไว้
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก Key Performance Indicators - KPIs คุณลักษณะของตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก.... 1.สามารถวัดได้ (Measurability) 2.มีความคงเส้นคงวา (Consistency) 3.ชัดเจน และไม่กำกวม (Clear and Unambiguous) 4.มีอิทธิพลต่อสิ่งที่จะวัด (Impact) 5.สามารถสื่อสารได้ (Communicable) 6.มีความเที่ยงตลอดเวลา (Valid over time) 7.สามารถเปรียบเทียบได้ (Comparable) 8.สามารถตรวจสอบและป้องกันการบิดเบือนข้อมูล (Resilient) 9.มุ่งเน้นที่ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Focus on the CSFs) 10.มีความพร้อมของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนการวัด (Obtainable)
Key Performance Indicators - KPIs เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก 5 ประการ (ของสหรัฐอเมริกา) MAUVE 1.Measurable สามารถวัดผลการปฏิบัติงานได้จริง 2.Achievableสามารถบรรลุผลได้ มีความสมเหตุสมผลที่จะใช้เป็นตัวชี้วัด ไม่วัดสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากขีดความสามารถของโครงการ ไม่ใช้ต้นทุนในการวัดที่สูงเกินไป 3.Understandable สามารถสื่อสารสร้างความเข้าใจได้ตรงกัน ควรกำหนด KPIs ให้ชัดเจน มีความเฉพาะเจาะจง 4.Verifiableสามารถยืนยันผลการปฏิบัติงานของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานหลักได้ 5.Equitable สามารถวัดได้อย่างเท่าเทียมกัน ผลงานเหมือนกันต้องวัดด้วยตัวชี้วัดเดียวกัน
ปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา การวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหา การกำหนดโครงการ การกำหนดวัตถุ ประสงค์โครงการ การปรับปรุงโครงการ การประเมินผลโครงการ การดำเนินงานโครงการ การยกเลิกโครงการ วงจรการบริหารโครงการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การประเมินผล
สามารถแก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงานได้สามารถแก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงานได้ มีรายละเอียด วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถดำเนินงานได้ หรือ มีความเป็นไปได้สูง รายละเอียดของโครงการต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน รายละเอียดของโครงการสามารถเข้าใจได้ง่าย สามารถสนองตอบความต้องการของสังคม ของกลุ่มชนส่วนใหญ่และนโยบายของชาติ แผนงานหลักขององค์กร และติดตามประเมินผลได้ เป็นโครงการที่สอดคล้องกับ ได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบแล้ว กำหนดขึ้นจากข้อมูลที่เป็นจริง และ ต้องได้รับการสนับสนุน ทั้ง ด้านทรัพยากรที่เหมาะสม ด้านการบริหารจัดการที่ดี ลักษณะของโครงการที่ดี
ขาดผู้ที่มีความสามารถที่แท้จริงในการเขียนโครงการขาดผู้ที่มีความสามารถที่แท้จริงในการเขียนโครงการ • มีเวลาน้อย หรือเป็นไปอย่างเร่งด่วน • เขียนวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงการไม่ชัดเจน • เป็นเรื่องของอนาคต ผู้เขียนโครงการไม่สามารถควบคุมได้ทั้งหมด นอกจากปัญหาดังกล่าว ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญอย่างแท้จริง อำนาจของผู้บริหารองค์กร การจัดลำดับความสำคัญของโครงการ การไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง ขาดงบประมาณและทรัพยากรสนับสนุนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ ปัญหาการเขียนโครงการ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายวัตถุประสงค์และเป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์ส่วนประกอบของโครงการ • ความสอดคล้องสมบูรณ์ของโครงการ • พิจารณาจาก
เหตุผลและความจำเป็น ระยะเวลาการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายและสถานที่ดำเนินงาน ความสมประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ความสอดคล้องระหว่างรายจ่ายกับผลตอบแทน การวิเคราะห์ส่วนประกอบของโครงการ 2. ความเหมาะสมและประโยชน์ของโครงการ พิจารณาจาก
ความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจ ฐานะการเงินของโครงการ ความสามารถของผู้ดำเนินงานและหน่วยงาน ความพร้อมด้านเทคนิค ข้อจำกัดด้านต่าง ๆ การวิเคราะห์ส่วนประกอบของโครงการ 3. ความเป็นไปได้ของโครงการ พิจารณาจาก
การติดตามโครงการ การติดตาม หมายถึง กระบวนการของการวัดหรือการตรวจสอบที่ทำเป็นประจำ เป็นช่วงๆ ได้แก่ - การวัดปัจจัยนำเข้า (inputs) -กิจกรรม (activities) - ผลผลิต (outputs)
การติดตามโครงการ วัตถุประสงค์ของการติดตาม ต้องการชี้นำให้เห็นสถานการณ์ของโครงการให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ ในเรื่องเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากร การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ หรือการผลิตของโครงการ เพื่อจะได้จัดการแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ต่างๆ ของโครงการที่เป็นปัญหาได้ทันท่วงที การติดตามโครงการ เป็นเครื่องมือพื้นฐานเบื้องต้นสำหรับการปรับปรุงการบริหารโครงการ
ประเภทของการติดตามโครงการประเภทของการติดตามโครงการ 1.การติดตามผลการปฏิบัติงาน - ผลงานก้าวหน้าไปในทิศทางที่สอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณที่กำหนดไว้หรือไม่ 2.การติดตามประสิทธิภาพของโครงการ - ขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างประหยัดที่สุดหรือไม่ (ตามปัจจัยนำเข้า) 3. การติดตามประสิทธิผลของโครงการ - ได้ผลผลิตตามกำหนดหรือไม่ - ผลผลิตที่เกิดขึ้นบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการมากน้อยเพียงใด
ความจำเป็นของการติดตามโครงการความจำเป็นของการติดตามโครงการ 1.เพื่อให้โครงการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 2.ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายของโครงการ 3.เป็นการกระตุ้น จูงใจ และสร้างขวัญกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน 4.ป้องกันอุปสรรคและความเสียหายรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ 5.พบปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เพื่อหามาตรการในการป้องกัน แก้ไขได้อย่างถูกต้อง ทันกาล 6.ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้เห็นเป้าหมาย วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานของงานได้ชัดเจนขึ้น และสามารถปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ได้
ปัญหาและข้อสังเกต ในการติดตามและประเมินผลโครงการ 1.ปัญหาด้านบทบาทของการติดตามและประเมินผล 2.ลักษณะเฉพาะของการติดตามและประเมินผล 3.การหาสถิติข้อมูลและการวิเคราะห์ 4.การกำหนดวัตถุประสงค์และเลือกวิธีการติดตามและประเมินผล 5.การไม่เห็นความสำคัญของการติดตามและประเมินผล 6.การไม่ได้รับความร่วมมือ 7.ขาดความเที่ยงธรรมในการประเมินผล 8.ขาดความพร้อมในการติดตามและการประเมินผล
ความสำเร็จและความล้มเหลวของโครงการพัฒนาของรัฐความสำเร็จและความล้มเหลวของโครงการพัฒนาของรัฐ มิติที่ 1 ผลลัพธ์ สุดท้าย ผลผลิต ผลลัพธ์ มิติที่ 2 ผลตามมิติที่หนึ่งไม่สร้างปัญหาต่อโครงการอื่นๆ มิติที่ 3 ผลของโครงการทั้งหมดเมื่อรวมแล้ว ก่อให้เกิดผลการพัฒนาประเทศ ที่พึงปรารถนา
การวัดระดับความสำเร็จ และความล้มเหลวของผลผลิตของโครงการ
การวัดระดับความสำเร็จ และความล้มเหลวของผลผลิตของโครงการ (ต่อ)
การวัดระดับความสำเร็จ และความล้มเหลวด้านผลลัพธ์ของโครงการ
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็ก เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ • กรมพัฒนาที่ดิน
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ ความเป็นมา/สภาพปัญหา การทำการเกษตรในประเทศไทยส่วนใหญ่ต้องอาศัยพึ่งพาธรรมชาติและมีความเสี่ยงต่อการแปรปรวนของดิน ฟ้า อากาศ เช่น ภาวะฝนแล้ง น้ำท่วม ซึ่งเป็นเหตุการณ์อยู่เหนือการควบคุมหรือป้องกันได้ ปัจจุบันได้มีการจัดทำโครงการต่างๆ ขึ้นมาจำนวนมากเพื่อแก้ไขปัญหาและบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรแต่ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นยังคงปรากฏอยู่ทุกปี ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการอนุรักษ์น้ำ รักษาความชุ่มชื้นในดิน เก็บกักน้ำ โดยการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรให้มีแหล่งน้ำให้เกษตรกรได้มีน้ำใช้อย่างทั่วถึงมากขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีแหล่งกักเก็บน้ำไว้ใช้ มีการบริหารจัดการการใช้น้ำโดยกลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำหรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เพื่อบำรุงรักษาให้ใช้ประโยชน์ได้ยาวนานให้การใช้แหล่งน้ำเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุดอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรและคุ้มค่าในการลงทุนมากที่สุด
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ การดำเนินโครงการ งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กในพื้นที่สาธารณะ งานปรับปรุงพื้นที่และจัดทำระบบส่งน้ำในไร่นา งานปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อเป็นแหล่งผลิตของชุมชน งานพัฒนาแหล่งน้ำในไร่นา
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/งบประมาณ
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/งบประมาณ กิจกรรม ก่อสร้างสระเก็บน้ำในพื้นที่ไม่มีหนอง บึงธรรมชาติ หรือสร้างอ่างเก็บน้ำพร้อมอาคารระบายน้ำล้น หรือขุดลอกหนองและบึงธรรมชาติ หรือสร้างฝายน้ำล้นและอาคารเพื่อยกระดับน้ำให้น้ำไหลเข้าสู่ไร่นา
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/งบประมาณ
งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำงานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/งบประมาณ กิจกรรม ขุดสระเก็บน้ำในไร่นาขนาด 1,260ลบ.ม. ให้ฟรีกับเกษตรกร
“โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐาน“โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐาน เพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้” กรมส่งเสริมการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ความเป็นมา/สภาพปัญหา พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้มีปัญหาพื้นฐานค่อนข้างรุนแรง ผลผลิตทางด้านการเกษตรค่อนข้างต่ำเนื่องจากดินส่วนใหญ่ขาดความอุดมสมบูรณ์ เป็นทรายจัด ขาดอินทรีย์วัตถุ และดินเค็มบางส่วน มีปัญหาขาดแคลนน้ำเนื่องจากฝนทิ้งช่วงและน้ำท่วมในช่วงต้นและปลายฤดูทำนา ทำให้ทำนาได้เพียงปีละ 1 ครั้ง ขาดเส้นทางคมนาคมที่ใช้ได้ทุกฤดูกาลโดยเฉพาะฤดูฝนเนื่องจากปัญหาน้ำท่วม จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรทำให้ความเป็นอยู่และรายได้ของเกษตรกรในเขตทุ่งกุลาร้องไห้อยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก เมื่อเทียบกับรายได้เฉลี่ยของเกษตรกรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต่อมาในปี 2519 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบในหลักการให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ดำเนินงาน “โครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้” วัตถุประสงค์หลักคือการยกระดับรายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกรในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ให้สูงขึ้นเท่าเทียมกับรายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ความเป็นมา/สภาพปัญหา(ต่อ) พื้นที่การปลูกข้าวหอมมะลิของประเทศทั้งหมดประมาณ 18.39 ล้านไร่ส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 15.03 ล้านไร่หรือคิดเป็นร้อยละ 82.00 ของพื้นที่ปลูกข้าวหอมมะลิทั้งหมด โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตทุ่งกุลาร้องไห้ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดร้อยเอ็ด สุรินทร์ ศรีสะเกษ มหาสารคาม และยโสธร เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศไทยและเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตข้าวหอมมะลิได้ประมาณ 1.27 ล้านไร่ แยกเป็นพื้นที่ที่ปรับปรุงแล้ว (Land Remodeling) ประมาณ 0.63 ล้านไร่ และพื้นที่ยังไม่ปรับปรุงอีกประมาณ 0.64 ล้านไร่ ซึ่งจะต้องดำเนินการต่อไป นอกจากนี้การปลูกข้าวหอมมะลิในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ยังมีปัญหาสำคัญคือปัญหาด้านการผลิตและปัญหาด้านการตลาด
โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/งบประมาณ
โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ หน่วยงาน/กิจกรรม
โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ความสอดคล้องเชื่อมโยง ของการดำเนินงาน โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐาน เพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้
โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ ปีที่ 50 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้โครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อการส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ความเป็นมา/สภาพปัญหา ทรัพยากรป่าไม้ของประเทศไทยในปัจจุบันได้ลดลงเป็นอย่างมาก จนส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้เกิดภัยธรรมชาติ เช่น ความแห้งแล้งและอุทกภัยบ่อยครั้งและนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีความห่วงใยพสกนิกรถึงเรื่องดังกล่าว จึงทรงมีพระราชกระแสให้หามาตรการหยุดยั้งการทำลายป่าและเร่งฟื้นฟูบำรุงต้นน้ำลำธาร โดยทรงโปรดเกล้าฯให้คำนึงถึงปัญหาการขาดแคลนน้ำว่าเป็นปัญหาใหญ่หลวงของชาติที่จะต้องจัดการแก้ไขอย่างเร่งด่วนที่สุด คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบและอนุมัติให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์โดยกรมป่าไม้จัดตั้งและดำเนินงานโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ ปีที่ 50 ขึ้น โดยได้น้อมเกล้าฯ อัญเชิญพระราชกระแสของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มาเป็นแนวทางในการดำเนินการ