810 likes | 1.33k Views
การบริหารหลักสูตรสู่คุณภาพผู้เรียน รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ คณะครูผู้ร่วมบริหาร โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลฯ วันที่ 6 มิถุนายน 2552. ปัจจุบันและอนาคตนั้น แตกต่างจากอดีตโดยสิ้นเชิง การสร้างองค์กรสู่ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ ( Good to Great ) ศัตรูของความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ คือ
E N D
การบริหารหลักสูตรสู่คุณภาพผู้เรียนการบริหารหลักสูตรสู่คุณภาพผู้เรียน รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ คณะครูผู้ร่วมบริหาร โรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลฯ วันที่ 6 มิถุนายน 2552
ปัจจุบันและอนาคตนั้น แตกต่างจากอดีตโดยสิ้นเชิง การสร้างองค์กรสู่ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ (Good to Great) ศัตรูของความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ คือ การที่เห็นว่าองค์กรของตนนั้นดีแล้ว (Good is an enemy of Great) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
การปรับวิธีคิดและวิธีการทำงานแบบอาสา ASSA ให้คน 3 กลุ่ม ได้แก่ generation Y , baby boom และ generation X คือ A : Advise ให้คำแนะนำ S : Service ให้การบริการ S : Support ให้การสนับสนุน A : Assist ให้การช่วยเหลือ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
การทำงานกับคน 3 รุ่นที่สมดุล 1. Generation X 2. Baby Boom คน 2 รุ่นนี้ ทำงานด้วยความหวังเพื่อสุขสบาย 3. Generation Y ให้ความสำคัญกับความสมดุลชีวิตการทำงาน และชีวิตส่วนตัว เป็นอันดับหนึ่ง (Work – Life Balance) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
คุณภาพของผู้เรียน ขึ้นอยู่กับขีดความสามารถ ของผู้นำระดับ 5 ในการบริหารจัดการ การนิเทศ กำกับ ดูแล หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ขีดความสามารถของผู้นำ 5 ระดับ ตามแนวคิดของ Jim Collins ระดับที่ 1 คือ ผู้ที่มีความสามารถสูง (highly capableindividual) สามารถนำความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและพฤติกรรมที่ดี มาใช้ในการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพและมีผลผลิตสูง ระดับที่ 2 คือ ผู้ที่เน้นความสำเร็จของทีมงาน (contributing team member) ผู้ที่ทุ่มเทขีดความสามารถของตนเอง เพื่อให้เป้าหมายของทีมงาน บรรลุผล และสามารถทำงานร่วมกับสมาชิกของทีมงานได้ เป็นอย่างดี นอกจากจะได้ชื่อว่าเป็นคนเก่งแล้ว ยังใส่ใจต่อความสำเร็จของทีมงาน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ระดับที่ 3 คือ ผู้จัดการที่มีขีดสมรรถนะ (competent manager) ผู้ที่มี ขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากร และบุคลากร เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายที่กำหนด อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล คือ ได้ชื่อว่าเป็นผู้บริหารที่ใส่ใจทั้งคน ความสำเร็จของงาน ระดับที่ 4 คือ ผู้นำที่มีประสิทธิผล (efficient leader) คือผู้ที่สามารถ สร้างแรงกระตุ้นให้คนในองค์กรเกิดความมุ่งมั่นผูกพัน และกัดไม่ปล่อยในการที่จะทำงานให้บรรลุ วิสัยทัศน์และพันธกิจ รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาผลงานยิ่งๆ ขึ้นไป วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ระดับที่ 5 คือ ผู้บริหารที่แท้จริง (executive) คือผู้ที่เน้นการสร้างความสำเร็จ อันยิ่งใหญ่และยั่งยืน ด้วยการผสานความเป็นมืออาชีพ (professional will) เข้ากับความอ่อนน้อมถ่อมตน (personal humanity) ได้อย่างแนบเนียนเป็นเนื้อเดียว ผู้บริหารที่มุ่งเน้นวิชาการ จะส่งผลให้ครูทำงานมีคุณภาพ และทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ระบบการบริหารจัดการหลักสูตรระบบการบริหารจัดการหลักสูตร สถานศึกษาเป็นหน่วยงานที่จะทำให้หลักสูตรมีความเป็นจริง ตรงตามความคาดหวังของหลักสูตรแกนกลาง คือ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หน้าที่และภาระรับผิดชอบที่จะต้องพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับภูมิสังคมแล้ว การบริหารจัดการหลักสูตรเป็นสิ่งที่สำคัญที่สถานศึกษาจะต้องจัดทำ ระบบบริหารจัดการหลักสูตรที่ชัดเจน ระบบการนิเทศกำกับดูแลการเรียนการสอน ระบบการบริหารงานวิชาการ ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ระบบการวัดและประเมินผล ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ผู้บริหาร การบริหารจัดการ ครู การเรียนการสอน ผู้ปกครอง แบบเรียน / สื่อ หลักสูตรบนฐานคิดที่แตกต่างกัน หลักสูตร วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
มาตรฐานการเรียนรู้ 67 ตัวชี้วัด 2190 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ วิสัยทัศน์ สมรรถนะ ของผู้เรียน จุดหมาย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ คุณภาพผู้เรียน การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ การศึกษาตลอดชีวิต วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
การเชื่อมโยง (Alignment) มาตรฐานหลักสูตร (Curriculum Standard) คุณลักษณะและพฤติกรรมที่คาดหวัง เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนด มาตรฐานวิชาการ (Academic Standard/ Content Standard) สิ่งที่ผู้เรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และทำได้ในช่วงเวลาที่กำหนด มาตรฐานด้านการปฏิบัติ (Performance Standard) ผลการปฏิบัติ / ระดับความสามารถที่ผู้เรียนจะต้องแสดงออก ตัวชี้วัดชั้นปี / ตัวชี้วัดช่วงชั้น คำกุญแจ (Key Word) ความคิดรวบยอดหลัก (Main Concept) เขียนคำอธิบายสาระการเรียนรู้ / กำหนดหน่วยการเรียนรู้ / จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ (ภาพรวมทั้งหมดของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้) / ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ / จัดทำแผนการสอน การวัดและประเมินผล (วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์ เน้น Empowerment Evaluation) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
การสื่อสารสามมิติของหลักสูตรการสื่อสารสามมิติของหลักสูตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มี 2 มิติ 1. รูปแบบ 2. สาระ (กรอบหลักสูตร curriculum framework) หลักสูตรสถานศึกษามี 3 มิติ 1. รูปแบบ 2. สาระ 3. กระบวนการและเป้าหมาย วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
หลักสูตรสถานศึกษา คือ หลักสูตรท้องถิ่น วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ความตึงของผิวน้ำ กระบวนการสืบเสาะ - การทำนาย วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ประเภทของความคิดรวบยอดประเภทของความคิดรวบยอด กฎ วิธีการ ระเบียบ ความจริง คุณสมบัติ ลักษณะร่วม การคาดการณ์ล่วงหน้า การแสดงความจริงที่สอดคล้องกัน การแสดงความเป็นเหตุเป็นผลกัน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 2. การเรียนรู้มีลักษณะเป็นแนวราบ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน 3. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างความมั่นใจ และความชัดเจนในสิ่งที่เรียนรู้ 4. การเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการเรียนรู้ ตามสภาพจริง วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ใบงานที่ 1 วัตถุประสงค์ เพื่อร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดหมาย สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา คำชี้แจง 1. จงร่วมกันศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สภาพปัญหาของชุมชน และนำประเด็นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนได้ข้อยุติแล้วนำมาเขียนเป็นคำกุญแจ (key word) ให้มีความสอดคล้องกันทุกประเด็น 2. เรียงลำดับความสำคัญของคำกุญแจ (key word) เป็นข้อ และเรียบเรียงภาษาให้สวยงาม วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดหมาย สมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำกุญแจ (key word) ด้านการเรียนรู้ และการคิด ................................................... ................................................... ด้านคุณธรรมจริยธรรม ................................................... ................................................... ด้านทักษะทางสังคม จิตอาสา .................................................. .................................................. คำกุญแจ (key word) ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คำกุญแจ (key word) ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คำกุญแจ (key word) ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... คำกุญแจ (key word) ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... ................................... วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
สมรรถนะผู้เรียน 1. ความสามารถในการเรียนรู้ การสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
คุณลักษณะอันพึงประสงค์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ การคิดอย่างเป็นระบบ 5. มีวิถีชีวิตอย่างพอเพียง 6. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตอาสา / จิตสาธารณะ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ใบงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใบงานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน วัตถุประสงค์ เพื่อวางแผนบูรณาการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในสถานศึกษาของท่าน คำชี้แจง 1. จงศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลาง และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา แล้วปรับเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา 2. จงวิเคราะห์สาระและประเด็นหลักของงานต่อไปนี้ 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด รักษาดินแดน 3. กิจกรรมชมรม 4. กิจกรรมจิตอาสา (หมายถึงงานจิตาภิบาล) 3. นำสาระและประเด็นหลักจากข้อ 2 มาออกแบบกิจกรรมลงในแผนการจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นำผลการประเมิน ไปรวมกับกลุ่มสาระ ระยะเวลาที่จัด เครื่องมือการประเมิน วัตถุประสงค์ สาระ / กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ กิจกรรมจิตอาสาจะต้องแยกการรายงานผลในชั้น ป.6 ม.3 และ ม.6 สำหรับประกอบการสำเร็จการศึกษา วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ใบงานที่ 2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อร่วมกันเขียนคำอธิบายสาระการเรียนรู้จากมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ 2. เพื่อกำหนดเวลาเรียนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระ คำชี้แจง 1. จงร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์คำกุญแจ (key word) จากมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ และนำมาเขียนในช่องคำกุญแจจากมาตรฐานและตัวชี้วัด พร้อมทั้งระบุประเภทความคิดรวบยอด คำกริยา และกระบวนการ 2. จงนำคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับคำกุญแจ (key word) มาเขียนลงในตาราง 3. นำคำกุญแจ (key word) ในตาราง มาเขียนเป็นคำอธิบายสาระการเรียนรู้ ในลักษณะความเรียง คำกุญแจจากมาตรฐาน ………………... ประเภท ความคิด รวบยอด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ตัวชี้วัด คำกริยา กระบวนการ คำกุญแจจากตัวชี้วัด วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ตัวอย่างการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน คำกุญแจจากมาตรฐาน ประเภท ความคิด รวบยอด คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ การอ่าน ตัวชี้วัด คำกริยา กระบวนการ คำกุญแจจากตัวชี้วัด กระบวนการอ่าน - ฝึกอ่านออกเสียง - ประสมสระ - ตัวสะกด มีวินัย มีความรับผิดชอบ 1. อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ คำ คำคล้องจอง ข้อความสั้นๆ กฎ อ่าน กระบวนการอ่าน การคิดวิเคราะห์ ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่เรียนรู้ คำ และข้อความ 2. บอกความหมายของคำ และข้อความ วิธีการ บอก วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ทักษะกระบวนการ 9 ขั้น 1. ขั้นตระหนักในปัญหาและความจำเป็น 2. ขั้นคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ 3. ขั้นสร้างทางเลือกที่หลากหลาย 4. ขั้นประเมินและเลือกทางเลือก 5. ขั้นปฏิบัติ 6. ขั้นปฏิบัติด้วยความชื่นชม 7. ขั้นประเมินผลระหว่างปฏิบัติ 8. ขั้นปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่เสมอ 9. ขั้นประเมินผลรวมเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอดกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด 1. ขั้นสังเกต / รับรู้ 2. ขั้นจำแนกความแตกต่าง 3. ขั้นหาลักษณะร่วม 4. ขั้นระบุชื่อความคิดรวบยอด 5. ขั้นทดสอบและนำไปใช้ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างความคิดวิจารณญาณกระบวนการสร้างความคิดวิจารณญาณ 1. ขั้นสังเกต / รับรู้ 2. ขั้นอธิบาย 3. ขั้นรับฟัง 4. ขั้นเชื่อมโยงความสัมพันธ์ 5. ขั้นวิจารณ์ 6. ขั้นสรุป วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างความตระหนักกระบวนการสร้างความตระหนัก 1. ขั้นสังเกต / รับรู้ 2. ขั้นวิจารณ์ 3. ขั้นสรุป วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติ 1. ขั้นสังเกต / รับรู้ 2. ขั้นทำตามแบบ 3. ขั้นทำเองโดยไม่มีแบบ 4. ขั้นฝึกให้ชำนาญ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการเรียนทางภาษากระบวนการเรียนทางภาษา 1. ขั้นทำความเข้าใจสัญลักษณ์ สื่อ รูปภาพ เครื่องหมาย 2. ขั้นสร้างความคิดรวบยอด 3. ขั้นสื่อสารความคิด 4. ขั้นพัฒนาความสามารถ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างเจตคติ 1. ขั้นสังเกต / รับรู้ 2. ขั้นวิเคราะห์ 3. ขั้นสรุป วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างค่านิยมกระบวนการสร้างค่านิยม 1. ขั้นสังเกต และตระหนัก 2. ขั้นประเมินเชิงเหตุผล 3. ขั้นกำหนดค่านิยม 4. ขั้นวางแผนปฏิบัติ 5. ขั้นปฏิบัติด้วยความชื่นชม วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ 1. ขั้นสังเกต / ตระหนัก 2. ขั้นวางแผนปฏิบัติ 3. ขั้นลงมือปฏิบัติ 4. ขั้นพัฒนาความรู้ความเข้าใจ 5. ขั้นสรุป วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการแก้ปัญหา 1. แสดงความเข้าใจปัญหา 2. วางแผนและลงมือปฏิบัติ 3. ใช้ความพยายามในการทำงาน 4. อธิบายวิธีการแก้ปัญหา 5. แสดงผลการทำงานได้อย่างชัดเจน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการวิเคราะห์ 1. การจำแนก 2. การจัดหมวดหมู่ 3. การสรุปอย่างสมเหตุผล 4. การประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ 5. การคาดการณ์บนพื้นฐานข้อมูล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการอ่าน 1. เตรียมการอ่าน 2. การอ่าน 3. แสดงความคิดเห็น 4. อ่านสำรวจ 5. การขยายความคิด วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการตัดสินใจ 1. กำหนดปัญหา 2. วิเคราะห์แยกแยะประเด็น 3. กำหนดทางเลือก จัดลำดับ ประเมิน 4. วางแผนทางเลือกที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ได้ผลการตัดสินใจที่ดี วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. สังเกต 2. การวัด 3. จำแนกประเภท 4. การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปส – สเปส และ สเปส – เวลา 5. การคำนวณ 6. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล 7. การลงความเห็นข้อมูล 8. การพยากรณ์ 9. การตั้งสมมติฐาน 10. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 11. การกำหนดและควบคุมตัวแปร 12. การทดลอง 13. การตีความหมายและลงสรุปข้อมูล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. การตั้งคำถาม / การกำหนดปัญหา 2. การสร้างสมมติฐาน 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์และแปลความหมาย 5. การลงข้อสรุปและการสื่อสาร วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ (mathematic method) 1. การแก้ปัญหา 2. การให้เหตุผล 3. การสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 4. การเชื่อมโยง 5. ความคิดสร้างสรรค์ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการทางประวัติศาสตร์กระบวนการทางประวัติศาสตร์ 1. การรวบรวมและคัดเลือกหลักฐาน 2. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐาน 3. การตีความหมายหลักฐาน 4. การสังเคราะห์ข้อมูล แหล่งที่มา ชุดวิชา กศน. หมวดวิชาพัฒนาสังคมและชุมชน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น http://ebook.nfe.go.th/ebook/pdf/011/0011_77.pdf วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
องค์ประกอบของดนตรี (element of music) ทำนอง จังหวะ เสียงประสาน สีสันของเสียง และเนื้อดนตรี วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
ทัศนธาตุ ปัจจัยการมองเห็น เป็นส่วนที่ประกอบเข้ากันเป็นภาพ ได้แก่ จุด เส้น น้ำหนักที่ร่าง รูปทรง รูปร่าง สี ลักษณะพื้นผิว วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
องค์ประกอบของนาฏศิลป์องค์ประกอบของนาฏศิลป์ จังหวะ ทำนอง การเคลื่อนไหว อารมณ์ความรู้สึก ภาษาท่า นาฏศัพท์ รูปแบบการแสดง การแต่งกาย การตีบท วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการเทคโนโลยี การกำหนดปัญหา รวบรวมข้อมูล แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา เลือกวิธีการ ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ประเมินผล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
กระบวนการทำงาน 1. การวิเคราะห์งาน 2. การวางแผนการทำงาน 3. การปฏิบัติตามขั้นตอน 4. การประเมินผล วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
การเขียนคำอธิบายสาระการเรียนรู้การเขียนคำอธิบายสาระการเรียนรู้ ศึกษา / ฝึกปฏิบัติ คำกุญแจ (key word) 1 , kw2 , kw3 , ………… ………………………………………………………………………… โดยกระบวนการ (process) P1 , P2 , P3 , ……………………….. ………………………………………………………………………… ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (characteristic) C1 , C2 , C3 , … ………………………………………………………………………… วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
คำอธิบายสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ศึกษาความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เรื่อง สมบัติของจำนวนนับ(mc1) ระบบจำนวนเต็ม(mc2) เลขยกกำลัง (mc3) พื้นฐานทางเรขาคณิตและแบบรูป (mc4) ทศนิยมและเศษส่วน (mc5) การประมาณค่า (mc6) คู่อันดับและกราฟ (mc7) สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (mc8) ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ และสามมิติ (mc9) และโอกาสการเกิดเหตุการณ์ (mc10) โดยใช้ทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา (ht1) การให้เหตุผล (ht2) การสื่อสารสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ (ls4) การเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (ls5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (ht3) มีความรับผิดชอบ (et1) มีวินัย (et2) ทำงานอย่างเป็นระบบรอบคอบ (et3) เชื่อมั่นในตนเอง (et4) มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ (et5) ซื่อสัตย์สุจริต (et6) และความพยายาม (et7) (mc = main concept / ls = learning skills / et = ethics / ht = high - order thinking) วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
สาระเพิ่มเติม สาระเพิ่มเติม สาระเพิ่มเติม 3 3 3 2 2 2 1 1 1 สาระพื้นฐาน สาระพื้นฐาน สาระพื้นฐาน 1 2 3 สาระเพิ่มเติม 3 2 1 สาระท้องถิ่น ค สาระท้องถิ่น ข ลักษณะที่ 2 สาระท้องถิ่น ก ลักษณะที่ 3 ลักษณะที่ 1 การออกแบบสาระเพิ่มเติม / สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ทำได้ 3 ลักษณะ วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552
10. อิทธิพลของดนตรี 1. ประวัตินักดนตรีตะวันตก 9. การเล่นรวมวง 2. ประเภทเครื่องดนตรี 8. การเล่นเดี่ยว ดนตรีสากล 7. ศัพท์ดนตรี 3. องค์ประกอบของดนตรี 6. การปฏิบัติตามตัวโน้ต 4. การฟัง 5. ทฤษฎีดนตรี วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2552