270 likes | 616 Views
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553. รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553. โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่. วัตถุประสงค์ :. เพื่อสะท้อนสถานการณ์บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุการขนส่งที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2553 ติดตามแนวโน้มจากข้อมูลผู้ป่วยระหว่างปี 2548-2553.
E N D
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553 รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
วัตถุประสงค์ : • เพื่อสะท้อนสถานการณ์บาดเจ็บ จากอุบัติเหตุการขนส่งที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2553 • ติดตามแนวโน้มจากข้อมูลผู้ป่วยระหว่างปี 2548-2553
ข้อมูล : แหล่งที่มาข้อมูล • งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • งานเวชระเบียน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ข้อมูลนำเสนอ • ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนรายเดือน เพศ • ผู้ป่วยนอก : จำนวนรายเดือน เพศ จยย. อายุ • ผู้ป่วยใน : จำนวนรายเดือน เพศ จยย. อายุ หมายเหตุ : - การนำเสนอข้อมูล เน้นรถจักรยานยนต์ - ผู้ป่วยนอกคือ ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแล้วกลับบ้าน - ผู้ป่วยในคือ ผู้บาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษาต่อเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล
วิธีเสนอ : • จำนวน (ข้อมูลดิบ) • สัดส่วน (%) หมายเหตุ : สัดส่วน(%) คือร้อยละของจำนวนอุบัติการณ์แต่ละเดือน/จำนวนอุบัติการณ์เฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละเดือนระหว่างปี
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : ชาย 16 คน หญิง 4 คน
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • 3,160 ราย เฉลี่ย = 263 ราย/เดือน • ชาย = 55% (1,744/3,160) • จยย. = 85% ของทั้งหมด (2,674/3,160) • จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,674) • อายุ <35 ปี = 74% (2,329/3,160)
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 55% (1,744/3,160) ความแตกต่างไม่เด่นชัดระหว่างชาย หญิง ข้อมูล : เดือนพฤศจิกายน มีผู้ป่วยสูงสุด
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 85% ของผู้ป่วยรวม (2,674/3,160) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,674)
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : ราว 6 ใน 10 ราย เป็นผู้ป่วยเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี หมายเหตุ : %= จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • 833 ราย เฉลี่ย = 69 ราย/เดือน • ชาย = 74% (617/833) • จยย. = 74% ของทั้งหมด (619/833) • จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (461/619) • อายุ <35 ปี = 60% (497/833) • อายุ >45 ปี = 25% (207/833)
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 3 ใน 4 ของผู้บาดเจ็บเป็นชาย = 74% (617/833) เดือนเมษายน มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุด
ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 74 % ของผู้ป่วยรวม (619/833) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (461/619)
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 4 ใน 10 ราย เป็นผู้ป่วยเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี หมายเหตุ : %= จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนปี 2548-2553 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ • ปี 2548 3,860 ราย เฉลี่ย = 322 ราย/เดือน • ปี 2549 4,078 ราย เฉลี่ย = 340 ราย/เดือน • ปี 2550 3,798 ราย เฉลี่ย = 317 ราย/เดือน • ปี 25513,981 ราย เฉลี่ย = 332 ราย/เดือน • ปี 2552 3,939 ราย เฉลี่ย = 328 ราย/เดือน • ปี 2553 3,993 ราย เฉลี่ย = 333 ราย/เดือน
ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของ ปี 2548-2553โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : ข้อมูล 6 ปีย้อนหลัง พบว่า เดือนม.ค. และส.ค. มีสัดส่วนสูงกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : %= ค่าเฉลี่ยผู้ป่วยรายเดือนของปี 2548-2552/ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปี 2548-2552
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : ชาย 12 คน หญิง 5 คน
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ • 5,305 ราย เฉลี่ย = 442 ราย/เดือน • ชาย = 55% (3,897/5,305) • จยย. = 85% ของทั้งหมด (4,517/5,305) • จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (2,434/4,517) • อายุ <35 ปี 74% (3,932/5,305)
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 55% (3,895/5,305) ระหว่างชายและหญิงไม่แตกต่างกันมาก ข้อมูล : เดือนเมษายน มีผู้ป่วยสูงสุด
ผู้ป่วยนอก : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 85 % ของผู้ป่วยรวม (4,517/5,305) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (2,434/4,517)
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 7 ใน 10 รายของผู้บาดเจ็บมีอายุ < 35 ปี หมายเหตุ : %= จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ • 2,563 ราย เฉลี่ย = 214 ราย/เดือน • ชาย = 71% (1,808/2,563) • จยย. = 78% ของทั้งหมด (2,002/2,563) • จยย.ชาย = 66% ของจยย.ทั้งหมด (1,319/2,002) • อายุ <35 ปี 64% (1,645/2,563)
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 71% (1,808/2,563) สูงกว่าหญิง 2.5 เท่า
ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 78 % ของผู้ป่วยรวม (2,002/2,563) จยย.ชาย = 66% ของจยย.ทั้งหมด (1,319/2,002)
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : ราว 5 ใน 10 ของผู้ป่วยเป็นเด็กและเยาวชน อายุ < 25 ปี หมายเหตุ : %= จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือน ปี 2551-2553 โรงพยาบาลหาดใหญ่ • ปี 25516,969 ราย เฉลี่ย = 581 ราย/เดือน • ปี 2552 7,959 ราย เฉลี่ย = 663 ราย/เดือน • ปี 2553 7,868 ราย เฉลี่ย = 656 ราย/เดือน
เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551-2553 : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : เดือนพ.ย. มีสัดส่วนผู้ป่วยต่ำกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : %= จำนวนผู้ป่วยรายเดือน/ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน
สรุป • โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 6 ปี ไม่ลด • โรงพยาบาลหาดใหญ่ 3 ปี = คงสูง • รถจักรยานยนต์ > 80% • ผู้ป่วยนอก ชาย = หญิง • ผู้ป่วยใน ชาย > หญิง • อายุ < 25 ปี (ผู้ป่วยนอก รพ.ม.อ./รพ.หญ.) = 57%/54% • อายุ < 25 ปี (ผู้ป่วยใน รพ.ม.อ./รพ.หญ.) = 40%/54%