840 likes | 1.16k Views
วิชา SSC 360 ภาคการศึกษาที่ 2/2553. สายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์. ผู้สอน : ศักดิ์สิทธิ์ วัฒนาเดช. การศึกษา วศบ .( เกียรตินิยม) โยธา , มจธ . วศม . ขนส่ง , มจธ . MSc . Economics and Finance, MU, Germany MA. Economics, UMC, USA PhD. Economics, UMC, USA (In Progress)
E N D
วิชา SSC 360ภาคการศึกษาที่ 2/2553 สายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
ผู้สอน: ศักดิ์สิทธิ์ วัฒนาเดช การศึกษา • วศบ.(เกียรตินิยม) โยธา, มจธ. • วศม. ขนส่ง, มจธ. • MSc. Economics and Finance, MU, Germany • MA. Economics, UMC, USA • PhD. Economics, UMC, USA (In Progress) ปัจจุบัน • วิศวกรขนส่ง • เศรษฐกร • อาจารย์ (พิเศษ) E-Mail: economania_tan@hotmail.com Mobile: 087-5922002
วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน • เข้าใจแนวคิดพื้นฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์ • เข้าใจลักษณะของระบบเศรษฐกิจประเทศไทย • เข้าใจข้อมูลข่าวสารทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์ (Economics) ส่วนที่ 2:เศรษฐศาสตร์มหาภาค 1. รายได้ประชาชาติและผลิตภัณณ์ประชาชาติ 2. แนวทางแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ 3. ปัญหาที่สำคัญทางเศรษฐกิจ 4. การค้าระหว่างประเทศ • วันที่ 1: เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในตลาดสินค้าและบริการ 3.ความสัมพันธ์ของอุปสงค์กับอุปทาน ดุลยภาพตลาดและการปรับตัวของระดับราคา
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิชาเศรษฐศาสตร์
SSC 360 เศรษฐศาสตร์มหาภาค (Macroeconomics) ศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ • เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) ศึกษาพฤติกรรมของหน่วยย่อยใน ระบบเศรษฐกิจ
แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ • เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) • เป็นการศึกษาเศรษฐกิจทั้งระบบ เช่น รายได้ประชาชาติ ระดับราคาสินค้าและบริการ ระดับการจ้างงานโดยทั่วไป การค้าและการเงินระหว่างประเทศ เป็นต้น • เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics) • เป็นการศึกษาพฤติกรรมของหน่วยเศรษฐกิจย่อย ได้แก่ ผู้ผลิตและ ผู้บริโภค ในการแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตนเอง เช่น • -ผู้ผลิตผลิตเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด • -ผู้บริโภค บริโภคเพื่อให้ได้ความ • พึงพอใจสูงสุด • -ใช้กลไกราคาในการศึกษาปฎิ สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค
ทำไมเราจำเป็นต้องรู้จักเศรษฐศาสตร์ ? • 40 ปี น้ำมันจะหมด • 60 ปี ก๊าซธรรมชาติจะหมด • 200 ปี ป่าไม้จะหมด • 15-20 ปี แร่สำคัญต่างๆจะหมด • 50 ปี อาหารทะเลจะหมด • ฯลฯ ความต้องการ ≠ สิ่งที่มี
ความไม่สมดุลย์ระหว่างความต้องการกับสิ่งที่มีความไม่สมดุลย์ระหว่างความต้องการกับสิ่งที่มี
1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์1.1ความหมายของเศรษฐศาสตร์ • เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่อยู่ในสังคม • ความหมายของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเลือกหนทางในการใช้ ปัจจัยการผลิตอันมีอยู่จำกัด สำหรับการผลิตสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่จำกัดของมนุษย์
ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) • ที่ดิน (Land) ผลตอบแทน คือ ค่าเช่า (Rent) • แรงงาน (Labor) หรือ ทรัพยากรมนุษย์(human resource) ผลตอบแทน คือ ค่าจ้าง(Wage) • ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) ผลตอบแทนคือ กำไร(Profit) • ทุน (Capitals) ผลตอบแทน คือ ดอกเบี้ย (interest)
ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) ทุน ประกอบด้วยเงินทุนและสินค้าทุน
ปัจจัยการผลิต (Productive Factors) (ต่อ) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ของปัจจัยการผลิต (ทุนนิยม) แรงงาน ทุน ที่ดิน ผลิตอะไร อย่างไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ ให้ใคร ผลผลิต ผู้บริโภค
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (ต่อ) ในมุมมองของเศรษฐกิจในภาพรวม (มุมมองของประเทศหรือระบบเศรษฐกิจทั้ง ระบบ) วิธีการและใครจะเป็นผู้แก้ไขปัญหาพื้นฐานทั้ง 3 จะขึ้นอยู่กับระบบเศรษฐกิจที่ ประเทศนั้นเลือกใช้
ระบบเศรษฐกิจกับการแก้ปัญหาพื้นฐาน(Economic System and Solotion) • ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) • ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) • ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ลักษณะที่สำคัญ • เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิต • เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามใจชอบ • รัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซง คงมุ่งเน้นแต่การป้องกันประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อย
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดีและข้อเสียของระบบทุนนิยม • ข้อดี • กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา • การจัดสรรทรัพยากรการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ • ข้อเสีย • เอกชนอาจลงทุนในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมได้ • เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการกระจายรายได้
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา: ผู้ประกอบการแข่งขันกันค้นคว้าเทคโนโลยี ใหม่ๆมาใช้ในการผลิตเพื่อลดต้นทุน สร้างสรรค์ผลงานได้ตามใจผู้บริโภค
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี กำไรเป็นสิ่งจูงใจให้เกิดการพัฒนา รถของโซเวียต รถของเยอรมันนี
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ข้อดี การจัดสรรทรัพยากรการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ เช่น • เลือกผลิตในสิ่งที่มีคนต้องการ (เพราะสินค้านั้นจะมีราคาสูง) • เลือกใช้ปัจจัยการผลิตที่มีราคาต่ำ (ต้นทุนจะได้ต่ำ)
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อเสีย เอกชนอาจลงทุนในกิจการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ส่วนรวมได้ • เลือกผลิตในสิ่งที่มีราคาสูงเพื่อให้ได้กำไรสูงสุด
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ)ข้อเสีย • เกิดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการกระจายรายได้
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ลักษณะที่สำคัญ (Again) • เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและปัจจัยการผลิต • เอกชนมีเสรีภาพในการเลือกดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามใจชอบ • รัฐบาลไม่เข้ามาแทรกแซง คงมุ่งเน้นแต่การป้องกันประเทศ รักษาความสงบเรียบร้อย
ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) (ต่อ) ปัญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ แรงงาน ทุน ที่ดิน ผลิตอะไร ผู้ประกอบการ ตัดสินใจ โดยเสรี (ใช้กลไกราคา) อย่างไร ผลผลิต ให้ใคร ประชาชนเลือกที่จะทำอะไรก็ได้โดยเสรี ถ้าเป็นแรงงาน ก็เลือกงานตามความถนัดและความชอบของตน ถ้าเป็นผู้ประกอบการ ก็ตัดสินใจได้อย่างอิสระ ผู้บริโภค
เครื่องมือที่ใช้แก้ปัญหาเศรษฐกิจ (เศรษฐกิจแบบทุนนิยม) ใช้กลไกราคา (หรือกลไกตลาด) ในการตัดสินใจ ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง บริษัท 5 บริษัท 1 ราคา บริษัท 4 บริษัท 2 บริษัท 3 ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy)
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) ลักษณะที่สำคัญ • เอกชนไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือปัจจัยการผลิต • เอกชนไม่มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) • ข้อดี • มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • ไม่มีความเลื่อมล้ำทางด้านรายได้ • ข้อเสีย • ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน • ใช้ทรัพยากรการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อดี มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ: ทุกอย่างเป็นไปตามนโยบายของรัฐ
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อดี ไม่มีความเลื่อมล้ำทางด้านรายได้: ไม่มีชนชั้น ทุกคนเป็น แรงงาน ได้รับผลตอบแทนเท่ากัน
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทำงาน:คนทำงานไปวันๆ ไม่มี สิ่งจูงใจให้คิดค้นอะไรใหม่ๆ เทคโนโลยีของเสรีนิยม เทคโนโลยีของสังคมนิยม
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ)ข้อเสีย ใช้ทรัพยากรการผลิตไม่มีประสิทธิภาพ • มักผลิตในสิ่งคนไม่ต้องการ แต่สิ่งที่คนต้องการไม่ผลิต • ใช้เทคโนโลยีแบบเก่า ไม่มีประสิทธิภาพในการผลิต
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) ลักษณะที่สำคัญ (Again) • เอกชนไม่สามารถเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือปัจจัยการผลิต • เอกชนไม่มีเสรีภาพในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบวางแผน (Planned Economy) (ต่อ) กลไกของเศรษฐกิจแบบวางแผน ข้อมูล สำนักงานวางแผน ข้อมูล คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง หน่วยผลิต 1 คำสั่ง หน่วยผลิต 5 หน่วยผลิต 2 หน่วยผลิต 3 หน่วยผลิต 4
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) ใช้กลไกตลาดควบคู่ไปกับการวางแผนจากส่วนกลาง • ระบบเศรษฐกิจแบบผสมคือ ระบบเศรษฐกิจที่มีลักษณะผสมระหว่างระบบเศรษฐกิจทุนนิยมและสังคมนิยม • บางประเทศจะมีลักษณะระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างไปทางทุนนิยม เช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมัน ญี่ปุน และไทยเป็นต้น • บางประเทศจะมีลักษณะระบบเศรษฐกิจที่ค่อนข้างไปทางสังคมนิยม เช่น สิงคโปร์ ออสเตรเลีย เป็นต้น
สรุป เครื่องมือการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของเศรษฐกิจแต่ละระบบ • ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ผู้ประกอบการเป็นผู้แก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจโดยใช้กลไกราคาหรือกลไกตลาด • ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม รัฐบาลกลางเป็นผู้แก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจโดยเป็นผู้วางแผนการดำเนินการ (แผนจากส่วนกลาง) • ระบบเศรษฐกิจแบบผสม ใช้กลไกราคาและแผนร่วมกัน
สรุป เครื่องมือการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ (ทุนนิยม) ใช้กลไกราคา (หรือกลไกตลาด) ในการตัดสินใจ ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง บริษัท 5 บริษัท 1 ราคา บริษัท 4 บริษัท 2 บริษัท 3 ตรวจดูราคาและตัดสินใจเอง
สรุป เครื่องมือการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ (แบบวางแผน) กลไกของเศรษฐกิจแบบวางแผน ข้อมูล สำนักงานวางแผน ข้อมูล คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง คำสั่ง หน่วยผลิต 1 คำสั่ง หน่วยผลิต 5 หน่วยผลิต 2 หน่วยผลิต 3 หน่วยผลิต 4
2. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค ในตลาดสินค้าและบริการ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในตลาดสินค้าและบริการความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในตลาดสินค้าและบริการ Simple Economic Circular Flow ค่าตอบแทน ปัจจัยการผลิต ธุรกิจ ครัวเรือน สินค้าและบริการ ค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในตลาดสินค้าและบริการความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคในตลาดสินค้าและบริการ ครัวเรือนหรือผู้บริโภค (Household or Consumers): ผู้ที่ทำให้เกิดความ ต้องการซื้อในตลาดสินค้าและบริการ ซึ่ง (ปริมาณ) ความต้องการสินค้าและบริการที่ เกิดจากผู้บริโภคนี้ นักเศรษฐศาสตร์เรียกว่า “อุปสงค์ หรือ Demand” หน่วยธุรกิจหรือผู้ผลิต (Firms or Producers): ผู้ที่จัดหาสินค้าและบริการมา ขายในตลาด ซึ่ง (ปริมาณ) ความต้องการขายสินค้าและบริการที่เกิดจากผู้ผลิตนี้ นักเศรษฐศาสตร์เรียกว่า “อุปทาน หรือ Supply”
Demand VS Supply (อุปสงค์และอุปทาน)
Demand VS Supply (อุปสงค์และอุปทาน)
Demand VS Supply (อุปสงค์และอุปทาน)
Slope (-) ราคาสินค้า ราคาสินค้า 10,000 10,000 Slope (+) 6,000 6,000 0 0 1 1 2 2 จำนวนสินค้า จำนวนสินค้า ความหมายของอุปสงค์ (Demand) คือ ปริมาณของสินค้าและบริการที่ผู้ซื้อต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆของ สินค้าและบริการนั้น (สมมติให้ปัจจัยอื่นๆที่มีผลต่ออุปสงค์คงที่) รูปที่ 2 รูปที่ 1
เส้นอุปสงค์ Slope (-) ราคาสินค้า 10,000 6,000 Demand Curve 0 1 2 จำนวนสินค้า เส้นอุปสงค์ (Demand Curve) • เส้นอุปสงค์ต้องมีความชันเป็น “ลบ” เสมอ
เงื่อนไขของอุปสงค์ • อยากได้รถคันละ 2ล้าน แต่มีเงินอยู่ 5 แสน … เป็นอุปสงค์หรือไม่? • มีเงินอยู่ 5 ล้าน แต่ไม่อยากได้รถ … เป็นอุปสงค์หรือไม่?
เงื่อนไขของอุปสงค์ (ต่อ) ความต้องการ (Want) จะกลายเป็นอุปสงค์ (Demand) ได้ก็ต่อเมื่อ • มีความสามารถที่จะซื้อ (Ability to Pay หรือ Purchasing Power) • มีความเต็มใจที่จะซื้อ (Willingness to Pay)
ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants) (ต่อ) ปัจจัยหลัก • ราคาของสินค้า (Price) ปัจจัยรอง • ระดับรายได้ของผู้ซื้อ (Income) • รสนิยมของผู้ซื้อ (Tastes) • ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Relative Prices) • ขนาดของประชากร (Size of Population) • การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต (Price Expectation)