390 likes | 488 Views
โครงการจัดตั้ง “ นิคมการเกษตร ” พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะที่ 2 ปี 2553. โครงการจัดตั้ง “ นิคมการเกษตร ” พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ระยะที่ 2 จังหวัดสุพรรณบุรี. . . . . หน่วยงานเจ้าภาพ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. ข้าว.
E N D
โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทนจังหวัดสุพรรณบุรีโครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทนจังหวัดสุพรรณบุรี ระยะที่ 2 ปี 2553
โครงการจัดตั้ง “นิคมการเกษตร” พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ระยะที่ 2 จังหวัดสุพรรณบุรี หน่วยงานเจ้าภาพ : สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ข้าว โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน จังหวัดสุพรรณบุรี
ข้าว โครงการจัดตั้ง “นิคมการเกษตร” พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดสุพรรณบุรี บทสรุป ตอบสนองนโยบาย : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคเกษตร ข้าว การพัฒนาบุคลากรด้านการเกษตร องค์ประกอบระยะที่ 1 (รองรับพื้นที่ 5,000 ไร่) การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร 1. ด้านพันธุ์ - ศูนย์ข้าวชุมชน 1 ศูนย์ (150 ไร่) 2. ด้านการผลิต - ศูนย์บริการเครื่องจักรกลชุมชน 1 แห่ง - ศูนย์ปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว 1 แห่ง - โครงสร้างพื้นฐาน ขุดลอกคลองระบายน้ำ ระยะทาง 25 กม. ซ่อมแซม/ขุดลอกคลองส่งน้ำ 13 สาย พัฒนาคูส่งน้ำ 2,000 ไร่ 3. ด้านการแปรรูปและการตลาด - ลานตากข้าว 1 แห่ง / ฉางข้าวขนาด 100 ตัน 4. สินเชื่อวิสาหกิจชุมชน วงเงิน 5 ล้านบาท 1. เกษตรกรแกนนำ - ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจข้าว 2. เกษตรตามโครงการ - หลักสูตรเฉพาะทางด้านการผลิต เมล็ดพันธุ์ - หลักสูตรการผลิตข้าวครบวงจร - หลักสูตรการผลิตปุ๋ยอินทรีย์/ปุ๋ยน้ำชีวภาพ (ลด 4 ความ สิ้นเปลืองในการผลิต) - การกำจัดข้าววัชพืช 3. การรวมกลุ่มเข้าสู่แหล่งทุน 5 วิสาหกิจ - หลักสูตรการรวมกลุ่มและจัดทำบัญชี 1. การสร้างพันธุ์ 1.1 พันธุ์ ปทุมธานี1 1.2 แหล่งพันธุ์ ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี 1.3 จัดตั้งศูนย์ข้าวชุมชน 1 ศูนย์ พื้นที่รวม 150 ไร่ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว70 ตัน/ปี 2. การเพิ่มศักยภาพการผลิต 2.1 ดิน วิเคราะห์ดินรายแปลง ปรับปรุงบำรุงดินให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 50% ของพื้นที่ โดยไถกลบตอซัง ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และเพิ่มการใช้สารอินทรีย์ 2.2 น้ำ ก่อสร้างสถานีสูบน้ำด้วยระบบไฟฟ้า 1 แห่ง เพื่อป้องกันความเสียหาย จากน้ำท่วม 2.3 คน สร้างแกนนำเกษตรกรภายใต้การปรับลด 4 ความสิ้นเปลืองยุคต้นทุนแพง 2.4 โครงสร้างพื้นฐาน - ขุดลอกคลองระบายน้ำ ระยะทาง 25 กม. - ซ่อมแซมและขุดลอกคลองส่งน้ำ 13 สาย. -พัฒนาคูส่งน้ำ 2,000 ไร่ 2.5 เทคโนโลยีการผลิต - จัดตั้งศูนย์บริการเครื่องจักรกลชุมชน 1 ชุด - จัดตั้งศูนย์ปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว 1 แห่ง 2.6 แหล่งทุน - จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเข้าสู่แหล่งทุนจาก ส.ป.ก. วงเงิน 5 ล้านบาท ประโยชน์ที่จะได้รับ ระยะที่ 2 (พื้นที่ 5,000 ไร่) 3. การเพิ่มศักยภาพการแปรรูป 3.1 ลานตากข้าว 1 แห่ง / ฉางเก็บข้าวขนาด 100 ตัน 4. การเพิ่มศักยภาพการตลาด 4.1 พัฒนาธุรกิจของวิสาหกิจชุมชน 5 กลุ่ม 4.2 ทำข้อตกลงความร่วมมือไตรภาคี
นโยบายกระทรวงฯ มติ ครม. 22 เม.ย. 51 ยุทธศาสตร์รับสถานการณ์ วิกฤติอาหารโลกและพลังงาน วาระแห่งชาติ เพิ่มพื้นที่ผลิต และมูลค่าจำหน่าย 5 พืช
กระทรวงฯได้กำหนดโครงการนำร่อง : โดยเลือกพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนา และบริหารจัดการผลิตให้ครบวงจร(Zoning)
ข้าว โครงการจัดตั้ง “นิคมการเกษตร” พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี จุดเน้น จัดและพัฒนาที่ดิน/แหล่งน้ำเพื่อเกษตรกรรม สร้างโอกาสการให้ความช่วยเหลือเพื่อปรับโครงสร้างการผลิตให้สอดคล้องกับ - โอกาสทางการตลาด (ตลาดเดิม/ตลาดใหม่) - การเปลี่ยนแปลงรสนิยมของผู้บริโภค เพิ่มศักยภาพและมูลค่าสินค้าเกษตร - มาตรฐานสินค้า - แปรรูปที่ได้คุณภาพ/มาตรฐาน - เชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมการเกษตรและพลังงานจากพืชทดแทน - โครงข่ายระบบการขนส่งสินค้าให้มีความรวดเร็ว พัฒนากลไกการรวมกลุ่มจัดตั้งสถาบันเกษตรกร (วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์)
ข้าว โครงการจัดตั้ง “นิคมการเกษตร” พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ทิศทางการพัฒนาในพื้นที่ การพึ่งพาตนเอง โดยการส่งเสริมวิธีคิดและการจัดการเกษตรผสมผสานในเรื่องอาหารและลดรายจ่ายต่างๆ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพึ่งพาตลาด ในรูปแบบการตลาดนำการผลิตภายใต้ความร่วมมือข้อตกลงไตรภาคี (เกษตรกร ภาครัฐ และภาคเอกชน) ในส่วนการผลิตเพื่อการจำหน่ายเน้นมาตรฐาน การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการแปรรูป การรวบรวม การบรรจุผลิตภัณฑ์ การจำหน่าย และการตลาดโดยความร่วมมือกับเอกชน
เป้าประสงค์ของโครงการเป้าประสงค์ของโครงการ เพื่อสร้างความสมดุลและภูมิคุ้มกันภาคการเกษตรให้แก่เศรษฐกิจของประเทศ เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชอาหาร /พืชพลังงานรองรับนโยบาย (ข้าว/ปาล์มน้ำมัน/มันสำปะหลัง/อ้อย/ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) รองรับเกษตรกรรุ่นใหม่ ครอบคลุมนักศึกษาเกษตรและผู้สนใจเข้าสู่อาชีพ เกษตรกรรม
เป้าประสงค์ของโครงการเป้าประสงค์ของโครงการ เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้เกษตรกรเกิดการยอมรับระบบการผลิตที่เหมาะสม บนพื้นฐานของศักยภาพ ผืนดินรายแปลง โดยปรับลด 4 ความสิ้นเปลือง ได้แก่ 1. ด้านเมล็ดพันธุ์ 2. ด้านการปรับปรุงโครงสร้างผืนดิน 3. ด้านการใช้ปุ๋ยเคมี 4. ด้านการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลง เพื่อลดรายจ่ายและเพิ่มศักยภาพการผลิตให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
กระบวนการจัดการ ภาคราชการ ภาคเกษตรกร ส่งเสริมวิธีคิด องค์ความรู้ การพึ่งพาตนเอง การบริหารจัดการกลุ่ม สร้างรายได้ ลดรายจ่าย ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน สร้างแกนนำเกษตรกร การเพิ่มศักยภาพการแปรรูปและการตลาด การรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเข้าสู่แหล่งทุน การบริหารจัดการสินค้าครบวงจร เกษตรกรตามโครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ประสานความร่วมมือ เพิ่มศักยภาพการผลิต พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ขยายผลการดำเนินการนิคมการเกษตรในอนาคต
ประสานความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประสานความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรมส่งเสริมการเกษตร กรมการข้าว สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ประสานความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประสานความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กรมประมง • สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ อบต.
การดำเนินงาน การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการ แต่งตั้งคณะทำงานโครงการ การร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan)
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน(ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน(ข้าว)ตำบลบ้านช้าง ตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงานนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน (ข้าว)ตำบลบ้านช้าง และตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
โครงการงานก่อสร้าง/ขุดลอกคลอง ปีงบประมาณ 2553โครงการนิคมการเกษตร อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
โครงการงานก่อสร้าง/ขุดลอกคลอง ปีงบประมาณ 2553 (ต่อ)โครงการนิคมการเกษตร อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน จังหวัดสุพรรณบุรี
โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน จังหวัดสุพรรณบุรี 34ราย 19% 141 ราย 81% 146 ราย 83% 29 ราย 17%
โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน โครงการจัดตั้ง“นิคมการเกษตร”พืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน จังหวัดสุพรรณบุรี 2 ราย 1% 167ราย 96% 132 ราย 90.41% 2ราย 1% 5 ราย 3% 168 ราย 96%
คณะกรรมการศูนย์ข้าวชุมชนนิคมการเกษตรข้าว ปี 2553อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
ข้อมูลแปลงผลผลิตพันธุ์ข้าว ปทุมธานี 1 นายเขตตะวัน ดำเนื้อดี เนื้อที่ 14 ไร่ ทำแปลงเมล็ดพันธุ์ วันที่เก็บเกี่ยว 22 กันยายน 2552 น้ำหนักเมล็ดพันธุ์ 13,240 ก.ก.950ก.ก./ไร่ ความชื้น 18.4 % สิ่งเจือปน 7.08 % พันธุ์ปน 0.73 % (ไม่มีข้าวแดง) เมื่อลดความชื้นมาที่ 14% น้ำหนัก 12,037 กก. เมื่อบรรจุถุง (คัดสิ่งเจือปนและข้าวลีบออก) น้ำหนัก 11,600 กก. ต้นทุนราคารับซื้อ 11 บาท/กก. ราคาต้นทุนค่าดำเนินการ 14.90 บาท/กก. ราคาขาย 16 บาท/กก. รายได้คิดเป็นเงิน = 185,600 บาท รายจ่ายเป็นเงิน = 175,008 บาท กำไร = 10,600 บาท
สมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบางตาเถรสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบางตาเถร 1. นางกุลนิดา กัญจนญาน์นันท์ ปทุมธานี1 40ไร่ 2. นายอัตพล แก้วกอรัง ปทุมธานี1 25 ไร่ 3. นางจงกล ไชยชูเอม ปทุมธานี1 12 ไร่ 4. นายมานิตย์ แพพิพัฒน์ ปทุมธานี1 17 ไร่ 5. นายแผน มังกรกรรณ์ (ประไพ)ปทุมธานี1 12 ไร่ 6. นายบุญเต็ม เพ็งสุพรรณ ปทุมธานี1 18 ไร่ 7. นายละออ วงศ์เสงี่ยม ปทุมธานี1 8 ไร่ 8. นางวีรวรรณ พลอยประเสริฐ ปทุมธานี1 20 ไร่ 9. นายประดิษฐ์ หมอจด ปทุมธานี1 20 ไร่ 10. นางสุนทร อินสว่าง ปทุมธานี1 30 ไร่ 11. นายวุฒิ อิ่มลิ้มธาร ปทุมธานี1 7 ไร่ 12. นายสมบูรณ์ คล้ายสิงห์ ปทุมธานี1 15 ไร่ 13. นางตวงพร แก้วมณี ปทุมธานี125 ไร่
สมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบ้านช้างสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนตำบลบ้านช้าง 1. นายสมโภชน์ บุญประเสริฐ พิษณุโลก 10 ไร่ 11. นางมานิตย์ กลิ่นพิกุล พิษณุโลก 17 ไร่ 2. นางบุญเตือน ศิริสมพันธ์ พิษณุโลก 10 ไร่ 12. นายทุเรียน อ่อนน้อม ปทุมธานี1 16 ไร่ 3. นางสำลี สิงโตทอง พิษณุโลก 19 ไร่ 13. นางปราณี จุ้ยใจเหิม พิษณุโลก 20 ไร่ 4. นายกลึง เกิดศรีเล็ก (หลอม) พิษณุโลก 19 ไร่ 14. นายไพวัลย์ พันธ์โตดี พิษณุโลก 15 ไร่ 5. นางบุญไทย จุ้ยใจเหิม พิษณุโลก 10 ไร่ 15. นางสาวไพเราะ รอดละมูล พิษณุโลก 14 ไร่ 6. นายสมเกียรติ ธงชัย พิษณุโลก 10 ไร่ 16. นายคะนึง กลิ่นพิกุล พิษณุโลก 9 ไร่ 7. นายสมนึก จิตอาภร พิษณุโลก 25 ไร่ 17. นายนพพร ศรีศักดา พิษณุโลก 30 ไร่ 8. นายสมนึก สุขวิลัย พิษณุโลก 10 ไร่ 18. นางมะลิ ศรีเมือง พิษณุโลก 15 ไร่ 9. นายมานพ สุขวิลัย พิษณุโลก 20 ไร่ 19. นางจารี กลิ่นพิกุล พิษณุโลก 12 ไร่ 10. นางประจวบ แก้วกอรัง พิษณุโลก 25 ไร่
รายชื่อผู้เข้าโครงการ GAP SEED กรมการข้าว 1. นายวิเศษ หมอยาดี ปทุมธานี125 ไร่ 2. นายบุญส่ง มังกรกรรณ์ ปทุมธานี110 ไร่ 3. นายเสน่ห์ จำเนียรกุล ปทุมธานี114 ไร่ 4. นายใบ บุญส่ง ปทุมธานี110 ไร่ 5. นายอำนาจ เริงธรรม ปทุมธานี115 ไร่ 6. นางจุน ดำเนื้อดี ปทุมธานี112 ไร่ 7. นายนิยม น้อยเตี้ย ปทุมธานี1 7ไร่ รวม 93 ไร่ • ปี 2553 ผลผลิตผ่านมาตรฐาน GAP กรมการข้าว 68 ตัน มูลค่า 880,000 บาท