1 / 39

สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย วันที่ 2 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

สัมมนาอธิบายการกรอกรายงานสำหรับการทดสอบคู่ขนานการดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยงครั้งที่ 2 บริษัทประกันวินาศภัย. สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย วันที่ 2 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554. Agenda. สรุปการเปลี่ยนแปลง Template แบบรายงานรายเดือน การส่งรายงาน

daire
Download Presentation

สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย วันที่ 2 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สัมมนาอธิบายการกรอกรายงานสำหรับการทดสอบคู่ขนานการดำรงเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยงครั้งที่ 2บริษัทประกันวินาศภัย สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

  2. Agenda • สรุปการเปลี่ยนแปลง Template • แบบรายงานรายเดือน • การส่งรายงาน • ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมอื่น • ประเด็นถามตอบ

  3. สรุปการเปลี่ยนแปลง Template

  4. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate

  5. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate

  6. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 1: การคำนวณอัตราส่วน CAR • เดิม: ให้แสดง CAR ตามกฎเกณฑ์ปัจจุบันของปีที่แล้ว • ใหม่: ไม่ต้องแสดง CAR ของปีที่แล้ว (แต่ในรายงาน RBC ตามกฎหมายให้แสดง CAR ของ 3 ไตรมาสล่าสุด)

  7. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 3: งบแสดงฐานะการเงิน • เดิม: กรอกมูลค่าตามงบการเงิน และมูลค่าปรับปรุงให้ได้ราคาตลาด • ใหม่: - กรอกมูลค่าตามงบการเงิน และราคาตลาด • - แก้การลิ้งค์มูลค่าสำรองค่าสินไหมทดแทน • (Claim Liability : CL)

  8. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 4: การคำนวณ Insurance Risk • เปลี่ยนรูปแบบตารางให้เหมือนกับ actuarial report • แก้การลิ้งค์ชื่อบริษัทและวันที่ทำการประเมิน

  9. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5: การคำนวณ Market Risk • เดิม: ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารทุน รวมตราสารทุนจดทะเบียนในตลาดทั้งในและนอกไว้ด้วยกัน • ใหม่: ความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารทุน แยกมูลค่าระหว่างตราสารทุนใน SET, MAI กับตราสารทุนที่จดทะเบียนในต่างประเทศ

  10. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • เดิม: หน่วยลงทุน แยกประเภทย่อยเป็น 4 ประเภท • ใหม่: หน่วยลงทุน แยกประเภทย่อยเป็น 7 ประเภท โดยเพิ่ม สินค้าโภคภัณฑ์ อัตราแลกเปลี่ยน และเงินฝาก

  11. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • เดิม: ไม่รวมหน่วยลงทุนในตารางการกระจายความเสี่ยง • ใหม่: เพิ่มหน่วยลงทุนในตารางการกระจายความเสี่ยง โดยมีค่าสหสัมพันธ์กับสินทรัพย์ลงทุนประเภทอื่นเป็น 100%

  12. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 5 : การคำนวณ Market Risk (ต่อ) • แก้สูตรคำนวณเงินกองทุนจากการลงทุนในหน่วยลงทุน

  13. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 6: การคำนวณ Credit Risk • เดิม: การลงทุนในตราสารหนี้ ใช้คำว่า“วิสาหกิจที่ คปภ. กำหนด” • ใหม่: “บริษัท และ อื่นๆ”

  14. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 6: การคำนวณ Credit Risk (ต่อ) • เดิม: รวมความเสี่ยงจากการให้ยืม (leasing, hire purchase, policy loan) ไว้ในตารางเดียวกับออกจากตารางความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ • ใหม่: แยกออกจากตารางความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้

  15. สรุปการเปลี่ยนแปลงtemplateสรุปการเปลี่ยนแปลงtemplate • แบบฟอร์มที่ 7: การคำนวณ Credit Risk and Concentration Risk of Reinsurances • แยกตารางระหว่างผู้รับประกันภัยต่อในประเทศกับต่างประเทศ • ปลดล็อค cell ที่ให้กรอกชื่อผู้รับประกันภัยต่อ • แก้ drop down risk charge ประกันภัยต่อ

  16. การประมาณการ CAR รายเดือน

  17. วัฒถุประสงค์ของการประมาณCAR รายเดือน • เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของ CAR และประมาณการผลกระทบจากเบี้ยประกันภัยที่เข้ามาใหม่ (New Business) ในเดือนที่ไม่มีการทำการประเมินสินทรัพย์และหนี้สินแบบเต็มรูปแบบ • อาศัยข้อมูลจากรายงานเงินกองทุนไตรมาสล่าสุดก่อนหน้าเป็นฐานในการประมาณ CAR รายเดือน

  18. ข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาสข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาส ในตารางที่ 1 ได้แก่ มูลค่าเงินกองทุนชั้นที่ 1, เงินกองทุนชั้นที่ 2, รายการหักจากเงินกองทุน, เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงแต่ละด้าน

  19. ข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาสข้อมูลจากรายงานการดำรงเงินกองทุนประจำปี/รายไตรมาส ในตารางที่ 2 ได้แก่ มูลค่าของสินทรัพย์

  20. ข้อมูลจากรายงานการเงินข้อมูลจากรายงานการเงิน ข้อมูลเบี้ยประกันภัยรับสุทธิสะสมในตารางที่ 3

  21. การประมาณCAR รายเดือน TCA + C* CAR* = TCR* • Monthly CAR C* = [A* x (Asset)] TCR* = TCR + (P* x Insurance RCC) + [A* x (TCR – Insurance RCC)] Net Premium rolling 12 months (Current month) P* = - 1 Net Premium rolling 12 months (Previous calculated RBC) Asset (current month) - 1 A* = Asset (previous calculated RBC)

  22. ตัวอย่างการคำนวณ บริษัทประกันวินาศภัย A ทำการประมาณการ RBC* ในเดือนพฤษภาคม 2554 ดังนั้น บริษัท A ต้องใช้ข้อมูลจากรายงานเงินกองทุนของเดือนมีนาคม 2554 โดยจากรายงาน บริษัท A มีข้อมูลดังนี้ • เงินกองทุนชั้นที่ 1 = 100,000,000 บาท • เงินกองทุนชั้นที่ 2 = 0 บาท • รายการหักจากเงินกองทุน = 0 บาท • ดังนั้น บริษัท A มีเงินกองทุนที่สามารถนำมาใช้ได้ทั้งหมด = 100,000,000 + 0 - 0 = 100,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านการประกันภัย = 30,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านตลาด = 20,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านเครดิต = 5,000,000 บาท • เงินกองทุนสำหรับความเสี่ยงด้านการกระจุกตัว = 0 บาท • ดังนั้น บริษัท A มีเงินกองทุนที่ต้องดำรงทั้งหมด = 30,000,000 + 20,000,000 + 5,000,000 + 0 = 55,000,000 บาท • บริษัท A มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุน = 100,000,000 / 55,000,000 = 182% • โดยบริษัท A มีมูลค่าของสินทรัพย์รวม = 250,000,000 บาท และมีมูลค่าของหนี้สินรวม = 150,000,000 บาท

  23. ตัวอย่างการคำนวณ

  24. ตัวอย่างการคำนวณ บริษัท A มีข้อมูลเบี้ยประกันภัยรับสุทธิดังนี้ • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบปี 2553 = 100,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - พฤษภาคม 2553 = 45,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - พฤษภาคม 2554 = 50,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - มีนาคม 2553 = 30,000,000 บาท • เบี้ยประกันภัยรับสุทธิในรอบเดือนมกราคม - มีนาคม 2554 = 32,000,000 บาท

  25. ตัวอย่างการคำนวณ สมมติให้บริษัท A มีมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ในเดือนปัจจุบัน = 267,000,000 บาท • ดังนั้น A* = (267,000,000 / 250,000,000) - 1 = 0.068 • บริษัท A มีมูลค่า Net Premium rolling 12 months (current month) = 100,000,000 - 45,000,000 + 50,000,000 = 105,000,000 บาท และมีมูลค่า Net Premium rolling 12 months (previous calculated RBC) = 100,000,000 - 30,000,000 + 32,000,000 = 102,000,000 บาท ดังนั้น P* = (105,000,000 / 102,000,000) - 1 = 0.029 • C* = (0.068 x 250,000,000) = 17,000,000 บาท • TCA* = 100,000,000 + 17,000,000 = 117,000,000 บาท • TCR* = 55,000,000 + (0.029 x 30,000,000) + [0.068 x (55,000,000 - 30,000,000)] = 57,570,000 บาท • CAR* = (100,000,000 + 17,000,000) / 57,570,000 = 203%

  26. ตัวอย่างการคำนวณ

  27. การส่งรายงาน

  28. การส่งรายงานการทดสอบ RBC ครั้งที่ 2(Parallel test run #2): • กำหนดส่งภายในวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 • รูปแบบรายงานการทดสอบ • Hard copy >>>> สำนักงาน คปภ. • Soft copy >>>> email : rbc.oic.or.th • ข้อมูลที่ใช้ในการทดสอบ จากงบการเงินประจำปีที่รับรองโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของสิ้นปี 2553

  29. ระยะเวลาที่กำหนดให้ส่งรายงานระยะเวลาที่กำหนดให้ส่งรายงาน ประเภทรายงาน ส่งรายงาน อนุโลมให้ครั้งแรก ประจำปี ภายใน 4 เดือน - ประจำไตรมาส ภายใน 45 วัน ภายใน 60 วัน ประจำเดือน ภายใน 30 วัน ภายใน 45 วัน

  30. Key date • 1 ก.ย.54 การกำกับตามระดับความเสี่ยงมีผลบังคับใช้ • 30 พ.ย.54 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายไตรมาส ครั้งแรก (ข้อมูล ณ สิ้น 30 ก.ย.54) • 15 ธ.ค.54 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายเดือน ครั้งแรก (ข้อมูล ณ สิ้น 31 ต.ค.54) • 30 ธ.ค.54 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายเดือน ครั้งที่สอง (ข้อมูล ณ สิ้น 30 พ.ย.54) • 30 เม.ย.55 สิ้นสุดกำหนดส่งรายงาน RBC รายปี ครั้งแรก (ข้อมูล ณ สิ้น 31 ธ.ค.54)

  31. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม (FQA)

  32. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม (FQA) • สินทรัพย์ที่มีอยู่หรือได้มาโดยไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (ยกเว้นอสังหาริมทรัพย์) หากสำนักงานคปภ.ตรวจพบในภายหลังบริษัทต้อง ดำรงเพิ่มเติมสำหรับสินทรัพย์ประเภทนี้ โดยมีค่าความเสี่ยงเท่ากับร้อยละ 100

  33. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • คำว่าเบี้ยประกันภัยค้างชำระเกินกว่า 60 วันนับแต่วันครบกำหนดชำระตามกฎหมาย หมายความว่าอย่างไร • คำตอบ ยกตัวอย่างเช่น กฎหมายกำหนดให้บริษัทต้องเก็บเบี้ยประกันอัคคีภัยให้ได้ภายใน 90 วันนับแต่วันเริ่มความคุ้มครอง ดังนั้น ในกรณีนี้ หมายถึง เบี้ยประกันภัยค้างชำระเกิน 150 (90+60) วันนับแต่วันเริ่มความคุ้มครอง

  34. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • ตั๋วแลกเงินที่ออกโดยบริษัทจำกัดแต่อาวัลโดยธนาคารจะให้นับเป็นบริษัทเอกชน หรือ ธนาคาร • คำตอบอนุญาตให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารเฉพาะส่วนที่ได้รับการอาวัล ส่วนเหลือยังคงให้ใช้อันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้

  35. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • ตั๋ว B/E ที่อายุไม่เกิน 1 ปี จะใช้ราคาอะไรประเมิน • คำตอบสามารถประเมินด้วยราคาทุนโดยอนุโลม ตามประกาศประเมิน ข้อ6 (4)

  36. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • ถ้าบริษัทผู้รับประกันภัยต่อในประเทศไม่มีค่า CAR ไตรมาสล่าสุดเปิดเผยไว้ บริษัทควรใช้ค่า Risk Charge เท่าไหร่ในการคำนวณค่า Credit Risk Charge คำตอบกรณีที่บริษัทรับประกันภัยต่อไม่มี CAR เปิดเผยไว้กำหนดให้ใช้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ 8% ในการคำนวณค่า Credit Risk Charge

  37. ประเด็นชี้แจงเพิ่มเติมประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม • รายงาน Actuarial report ให้ส่งปีละครั้งใช่หรือไม่ คำตอบใช่ การส่งรายงาน Actuarial report จะกระทำปีละครั้งเท่านั้นตามประกาศว่าด้วยเรื่องรายงานประจำปีการคำนวณความรับผิดตามกรมธรรม์ประกันภัย และให้ส่งภายใน 4 เดือน

  38. Help desk • บริษัทสามารถส่งคำถามและขอแนะนำเพื่อการปรับปรุงได้ที่ rbc@oic.or.th • สำนักงาน คปภ. จะเผยแพร่คำตอบสำหรับประเด็นคำถามในการทำการทดสอบคู่ขนานไว้ที่ web board ของ Parallel Test Run ใน website ของสำนักงาน คปภ. http://www.oic.or.th

  39. Q&A

More Related