160 likes | 548 Views
การนำเสนอผลการดำเนินงาน และแผนการพัฒนาคุณภาพ สถาบันธัญญารักษ์ 30 มกราคม 2549. พันธกิจ. 1. ประสานและส่งเสริมกระบวนการพัฒนาคุณภาพในสถาบันธัญญารักษ์อย่างเป็นระบบ (ทั้งระดับหน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน) 2. ส่งเสริมให้มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ใน สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด. เป้าหมาย.
E N D
การนำเสนอผลการดำเนินงานและแผนการพัฒนาคุณภาพสถาบันธัญญารักษ์30 มกราคม 2549
พันธกิจ 1. ประสานและส่งเสริมกระบวนการพัฒนาคุณภาพในสถาบันธัญญารักษ์อย่างเป็นระบบ (ทั้งระดับหน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน) 2. ส่งเสริมให้มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ใน สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด
เป้าหมาย สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติดมีกระบวนการบำบัดฟื้นฟูที่ได้มาตรฐาน และมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานและทีมคร่อมสายงานมีกระบวนการ พัฒนาคุณภาพที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างต่อเนื่อง
เป้าหมายที่ 1 สถานบำบัดและฟื้นฟูผู้ป่วยยาเสพติด มีกระบวนการบำบัดฟื้นฟูที่ได้มาตรฐาน และมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง • เครื่องชี้วัด • ร้อยละของจังหวัดที่มีตัวแทนเข้ารับการอบรมการพัฒนาคุณภาพยาเสพติด (100%) • ร้อยละของโรงพยาบาลที่ได้รับการอบรมการพัฒนาคุณภาพยาเสพติด (96.40%)794/816 • ร้อยละของจังหวัดที่ได้รับการนิเทศติดตาม ด้านการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติด(98.68%) 75/76 • ร้อยละของโรงพยาบาลที่ได้รับการนิเทศติดตาม ด้านการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติด (96.32%)786/816 • ร้อยละของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (20.65%)38/184 • ร้อยละของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ที่ได้รับการเยี่ยมสำรวจเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาคุณภาพ (100%)
กิจกรรมที่ได้ดำเนินการกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ • มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับสถานพยาบาล • จัดในสถาบัน • ไปนอกสถาบัน • มีการนิเทศสถานพยาบาลยาเสพติดเพื่อการพัฒนาคุณภาพ • โรงพยาบาล • ศูนย์บำบัดฯ • การฝึกอบรม เตรียมความพร้อมผู้นิเทศ 2 รุ่น • คัดเลือกสถานพยาบาลยาเสพติดที่มีความพร้อมเข้ารับการพิจารณาให้การรับรองคุณภาพ จำนวน 48
แผนพัฒนาต่อเนื่อง • นำสถานพยาบาลยาเสพติดที่ได้รับการคัดเลือก เข้าพิจารณาในคณะกรรมการรับรองกระบวนการคุณภาพ • ดำเนินการนิเทศสถานพยาบาลยาเสพติดที่มีความพร้อม 10 จังหวัด • เยี่ยมสำรวจและให้คำปรึกษาศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดภูมิภาคตามแนวทางบันได 3 ขั้นสู่ HA • จัดฝึกอบรมการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติดในจังหวัดที่ต้องการการสนับสนุน
เป้าหมายที่ 2 หน่วยงานและทีมคร่อมสายงาน มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า อย่างต่อเนื่อง • เครื่องชี้วัด • ร้อยละของหน่วยงานที่มีกิจกรรม พัฒนาคุณภาพ (นวัตกรรม CQI การปรับปรุงขั้นตอนการทำงาน) 57.14% (28/49) • ร้อยละของทีมสหวิชาชีพที่มีการประชุมต่อเนื่อง (ระหว่างดำเนินการเก็บข้อมูล)
กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ก่อนSurveillance • อบรมให้ความรู้ทีม Facilitator 5 รุ่น • ประชุมทีม Facilitator เพื่อวางแผนการประสานการพัฒนาคุณภาพทั่วทั้งองค์กร • ให้ความรู้กับหน่วยงาน • อบรมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 2 รุ่น • การทำกิจกรรมทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย • การเตรียมความพร้อมรับการเยี่ยมสำรวจ • ผ่านการให้คำปรึกษาโดย Facilitator ประจำหน่วยงาน
กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ก่อนSurveillance • ส่งเสริมการดำเนินงานของทีมสหวิชาชีพ (โดยทีม Facilitator ประจำทีมสหวิชาชีพ ) • ส่งเสริมการทำ RCA • Dead case • ฟิลม์ผิดคน • ผู้ป่วยหลบหนีและทำร้ายร่างกาย • ผู้ป่วยแพ้ยา Bactrim • ปรับปรุงระบบรายงานความเสี่ยง • ประสานและส่งเสริมการทบทวนการ Refer • ประสานและส่งเสริมการทำ C3ther
กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ก่อนSurveillance • ส่งเสริมการดำเนินงานของทีมสหวิชาชีพ (โดยทีม Facilitator ประจำทีมสหวิชาชีพ ) • การทบทวนความคลาดเคลื่อนทางยา • ปรับระบบการรายงาน • เผยแพร่ความรู้ด้านคุณภาพใน Intranet • \\dental2\ha • E-service homepage • จัดให้มีการนำเสนอผลงานการพัฒนาคุณภาพด้านยาเสพติด • จัดให้มีการเยี่ยมสำรวจภายใน
กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ หลังSurveillance • ประสานให้มีการกำหนดแผนเข็มมุ่งปี 49 ของสถาบัน • เวทีนำเสนอความก้าวหน้าทีมนำระดับกลาง • จัดสัปดาห์คร่อมสายงานเดือนละ 1 ครั้ง • ประชุมเชิงปฏิบัติการ unit optimization • การปรับเครื่องชี้วัดเพื่อเป็น Performance agreement • การวิเคราะห์กระบวนการหลัก • การทบทวนการตอบสนองความต้องการผู้รับบริการ • Update บัญชีความเสี่ยงระดับหน่วยงาน
กิจกรรมที่ได้ดำเนินการ หลังSurveillance • ประชุมเชิงปฏิบัติการ FMEA เพื่อค้นหาความเสี่ยงในกระบวนการบริหารยาผู้ป่วยใน • พัฒนา ห้องเอกสาร HA ในระบบ intranet • ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาคุณภาพ • เรื่องการแก้ปัญหาผู้ป่วยหลบหนี (ยังไม่แล้วเสร็จ) • การรับฝากเงินผู้ป่วยนอกเวลา (ยังไม่แล้วเสร็จ) • เริ่มดำเนินการ การจัดการความรู้ KM เรื่องการพัฒนาคุณภาพและการองค์ความรู้ในการบำบัดรักษายาเสพติด • ประสานงานการทบทวนและรวบรวม CPG ของสถาบันธัญญารักษ์ • ให้การบรรยายเรื่อง Knowledge management เบื้องต้น • สร้าง CoP เครือข่ายองค์ความรู้ธัญญารักษ์ ใน Internet
ปฏิบัติการ 60 วัน เพื่อเตรียมความพร้อมรับ Re-Accreditation กิจกรรมหลัก ห้วงเวลา 1. ติดตามความก้าวหน้าทีมสหวิชาชีพ 2. ลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement) ประจำปี 2549ระหว่างผู้นำหน่วยกับผู้อำนวยการ 3. Workshop จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีระดับหน่วยงาน 4. Workshop จัดทำแบบประเมินตนเองระดับหน่วยงาน 5. Workshop จัดทำแบบประเมินตนเองระดับทีมสหวิชาชีพ 6. เยี่ยมสำรวจภายใน ครั้งที่ 9 (Intenal Survey) 7. นำเสนอผลการปรับแก้ไขหลังการเยี่ยมสำรวจภายในของหน่วยงาน และทีมสหวิชาชีพ 8. นำเสนอผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองประจำปี 2549 (ไตรมาสที่ 2) 9. Focus Survey โดยทีมนำและทีมผู้ประสานงานคุณภาพ *** ต้องมีมาตรการสื่อสาร 9 ขั้นตอนนี้ในทุกวิธีที่ทำได้ เพื่อสร้างกระแส*** 30 ม.ค. 49 1 ก.พ. 49 6 ก.พ. 49 14 ก.พ. 49 15 ก.พ. 49 6 – 10 มี.ค. 49 23 มี.ค. 49 31 มี.ค. 49 3 เม.ย. 49
ความเสี่ยงสำคัญที่ต้องดำเนินการความเสี่ยงสำคัญที่ต้องดำเนินการ • ประสานงานเพื่อวางมาตรการป้องกันความเสี่ยงกรณีพยาบาลตรวจแทนแพทย์นอกเวลา (ข้อเสนอแนะจาก พรพ. ) • มาตรการการคัดกรองผู้ป่วยนอกเวลา • Criteria ในการตามแพทย์นอกเวลา และกรณีฉุกเฉิน • ระบบทบทวนเวชระเบียนโดยแพทย์และการเสริมความรู้พยาบาล • ต้องมีการคร่อมสายงานระหว่างแพทย์และพยาบาลเพื่อกำหนดมาตรการร่วมกัน • ผู้บริหาร จะให้มาตรการที่จัดทำนี้ ในการควบคุมต่อไป • การแก้ปัญหา refer ผู้ป่วยล่าช้าเนื่องจากข้อจำกัดของ ร.พ. ที่รับ refer • อาจเชิญ โรงพยาบาลใกล้เคียงเข้าร่วม ประชุมพัฒนาระบบ refer ร่วมกัน • แต่เราต้องมีมาตรการ ที่ชัดเจน ที่เต็มกำลัง ในการดูแลผู้ป่วย ที่รอ Refer