150 likes | 487 Views
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550. กฎกระทรวง พ.ศ. 2554 กำหนดจำนวนคนพิการที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการและหน่วยงานของรัฐจะต้องรับเข้าทำงาน และจำนวนเงินที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการจะต้องนำส่งเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
E N D
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 กฎกระทรวง พ.ศ. 2554กำหนดจำนวนคนพิการที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการและหน่วยงานของรัฐจะต้องรับเข้าทำงาน และจำนวนเงินที่นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการจะต้องนำส่งเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ มีผลบังคับใช้ 26 ตุลาคม 2554
ผู้ปฏิบัติงาน • หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างประจำ ไม่รวมลูกจ้างชั่วคราว หรือพนักงานจ้างเหมา • หน่วยงานของรัฐ มีผู้ปฏิบัติงานตั้งแต่ 100 ขึ้นไป ต้องรับคนพิการเข้าทำงาน 1 คน เศษเกิน 50 คน ต้องรับคนพิการเพิ่มอีก 1 คน • การนับจำนวนผู้ปฏิบัติงาน ให้นับทุกวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปี
จำนวนผู้ปฏิบัติงาน ในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ข้าราชการ จำนวน 1,350 คน • ลูกจ้างประจำ จำนวน 4,414 คน • พนักงานมหาวิทยาลัยประจำ จำนวน 941 คน รวม 6,705 คน จะต้องรับคนพิการเข้าทำงาน จำนวน 67 คน *ข้อมูลประมาณการ ณ วันที่ 22 กันยายน 2554
หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะรับคนพิการเข้าทำงานหน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะรับคนพิการเข้าทำงาน • ให้สัมปทาน จัดสถานที่จำหน่ายสินค้าหรือบริการ จัดจ้างเหมาช่วงงาน ฝึกงาน หรือให้การช่วยเหลืออื่นใดแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการก็ได้ • สรุปทางเลือกของหน่วยงานรัฐ 1. จ้างคนพิการเข้าทำงาน ตามมาตรา 33 2. จัดบริการอื่นเพื่อให้คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการมีงานทำมาตรา 35
การขึ้นทะเบียนคนพิการการขึ้นทะเบียนคนพิการ • เพื่อประโยชน์ในการเข้าถึงสิทธิตามกฎหมาย • คุณสมบัติของผู้ยื่นคำขอ -มีสัญชาติไทย -มีสภาพความพิการตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด -ยื่นด้วยตนเอง หรือผู้อื่นยื่นคำขอแทนได้ (ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาล หรือผู้ดูแลคนพิการ)
สถานที่ยื่นขอมีบัตร -องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทุกแห่ง -โรงพยาบาลทุกแห่ง -สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เชียงใหม่
เอกสารประกอบคำขอมีบัตรประจำตัวคนพิการเอกสารประกอบคำขอมีบัตรประจำตัวคนพิการ • สำเนาบัตรประชาชน /บัตรข้าราชการ /สูติบัตรของคนพิการ /ใบรับรองการเกิด • ถ้ามีชื่อในทะเบียนบ้านมีสัญชาติไทยไม่ต้องใช้บัตรประชาชน แต่มีกำนันผู้ใหญ่บ้าน /ข้าราชการระดับสามรับรองว่าเป็นคนเดียวกัน • สำเนาทะเบียนบ้านของคนพิการ
รูปถ่าย 3 นิ้ว ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน 2 รูป • ใบรับรองความพิการออกโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากสถานพยาบาลของรัฐทุกแห่ง /เอกชนที่ประกาศ ปัจจุบันมี 38 แห่ง กรณีสภาพความพิการที่สามารถเห็นได้โดยประจักษ์ไม่ต้องมีใบรับรองความพิการก็ได้
สิทธิประโยชน์คนพิการ (มีบัตรประจำตัวคนพิการ) • สวัสดิการสังคม ได้แก่ การมีผู้ช่วยคนพิการ เบี้ยความพิการ ช่วยเหลือคนพิการไม่มีผู้ดูแล ที่อยู่อาศัย ล่ามภาษามือ คนพิการที่ไม่มีคนดูแล • การแพทย์ ได้แก่ ฟื้นฟูสมรรถภาพ รักษาพยาบาล สื่อพัฒนาการ • การศึกษา ได้แก่ โควตาเข้าเรียน สิ่งอำนวยความสะดวก แผนการเรียนรายบุคคล ค่าใช้จ่ายการศึกษา
ผู้ดูแลคนพิการ ได้แก่ กู้ยืมกองทุน ลดหย่อนภาษี ส่งเสริมอาชีพ ความรู้การดูแล • การเข้าถึงกิจกรรมสาธารณะ ได้แก่ โครงการ/กิจกรรม นโยบายและแผนงาน พัฒนาและบริการ ผลิตภัณฑ์จำเป็น • สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ การนำทาง ยานพาหนะ โครงสร้างพื้นฐาน อาคารสถานที่ อาชีพอิสระ
อาชีพและการมีงานทำ ได้แก่ อัตราส่วนการทำงาน ส่งเสริมการจ้างงาน ฝึกอาชีพ คุ้มครองแรงงาน อาชีพอิสระ • เทคโนโลยีและการสื่อสาร ได้แก่ การสื่อสาร โทรคมนาคม สารสนเทศ ข้อมูลข่าวสาร • ช่วยเหลือทางกฎหมาย ได้แก่ ให้ความรู้ทางกฎหมาย ค่าทนายความ ค่าประกันตัวผู้ต้องหา ค่าธรรมเนียมศาล • การส่วนร่วม ได้แก่ สังคม การเมือง เศรษฐกิจ การบริหารจัดการ
จำนวนผู้ปฏิบัติงานที่เป็นคนพิการจำนวนผู้ปฏิบัติงานที่เป็นคนพิการ • ข้อมูลได้จากการสำรวจเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 • จำนวน 6 คน -คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1 คน -คณะมนุษยศาสตร์ 1 คน -คณะเกษตรศาสตร์ 4 คน • ระบุว่าได้ขึ้นทะเบียนคนพิการแล้ว จำนวน 2 คน