1 / 85

การบรรยายพิเศษ เรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพกับการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ

การบรรยายพิเศษ เรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพกับการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ. ณ ห้อง 12 B 06 อาคารนวมินทรราชินี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2553 เวลา 13.00-16.00 น. กา รวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research).

glenda
Download Presentation

การบรรยายพิเศษ เรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพกับการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายพิเศษเรื่อง การวิจัยเชิงคุณภาพกับการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ ณ ห้อง 12 B 06 อาคารนวมินทรราชินี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วันเสาร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2553 เวลา 13.00-16.00 น.

  2. การวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Research) รองศาสตราจารย์ ดร. ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  3. เนื้อหาการบรรยาย การวิจัย วงจรวิจัย กระบวนทัศน์ในการวิจัย (research paradigms)  วิธีวิทยาของการวิจัยเชิงปริมาณและ การวิจัยเชิงคุณภาพ

  4. เนื้อหาการบรรยาย การวิจัยเชิงคุณภาพ กรอบการวิจัย ขั้นตอนการวิจัย ยุทธวิธีในการวิจัย  การออกแบบการวิจัย

  5. เนื้อหาการบรรยาย ตัวอย่างงานวิจัยเชิงคุณภาพ คำถาม & คำตอบ

  6. การวิจัย

  7. ปฏิบัติ ทฤษฎี สรุปอ้างอิง สมมติฐาน การวิจัย วิเคราะห์ การสุ่ม ตัวอย่าง การรวบรวม ข้อมูล นิยาม เครื่องมือ วงจรวิจัย ปัญหา วิจัย

  8. กระบวนการวิจัย • การกำหนดปัญหาวิจัย (research problem) • การกำหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัย • การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย • การออกแบบการวิจัย การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (Sampling design) การออกแบบการวัดตัวแปร (Measurement design) การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis design)

  9. กระบวนการวิจัย • การเขียนโครงการวิจัย • การเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล • การเขียนรายงานการวิจัย

  10. การพัฒนาปัญหาวิจัย THEORETHICAL FRAMEWORK CONCEPTUAL FRAMEWORK RESEARCH PROBLEM RESEARCH QUESTION

  11. กรอบความคิดเชิงทฤษฎี(THEORETICAL FRAMEWORK) • แบบจำลองแสดงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องตามทฤษฎี

  12. กรอบความคิดในการวิจัย(CONCEPTUAL FRAMEWORK) • แบบจำลองที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้ทฤษฎีและผลการวิจัยในอดีต เพื่อแทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ และนำไปตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่ เพียงใด

  13. ปัญหาวิจัย(RESEARCH PROBLEM) • ประเด็น / สภาพ / ปรากฏการณ์ที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา ซึ่งเกิดจากการสรุปจากกรอบความคิดในการวิจัย

  14. คำถามวิจัย(RESEARCH QUESTION) • ข้อความที่เป็นประโยคคำถามซึ่งแสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการค้นหาคำตอบซึ่งครอบคลุมปัญหาวิจัย และนำไปสู่การตั้งจุดประสงค์ของการวิจัย

  15. สภาพปัญหา(บรรยายรายละเอียดของปรากฏการณ์ที่เป็นปัญหาวิจัย)ปัญหาวิจัย (Research Problem)คำถามวิจัย (Research Question)วัตถุประสงค์ของการวิจัย

  16. กระบวนทัศน์ในการวิจัย(RESEARCH PARADIGMS) PARADIGM มาจากภาษากรีกการแสดงตัวอย่างให้เห็น การแสดงให้เห็นไว้ข้างเคียง

  17. RESEARCH PARADIGM วิธีการที่ใช้แสวงหาความจริงในศาสตร์นั้น ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นก่อน ความเคยชิน นิสัย ต้นแบบ กรอบ

  18. สรุป RESEARCH PARADIGM เป็นตัวกำหนดเงื่อนไขครอบงำความคิดของคน ในการกำหนดปัญหา และวิธีการที่ใช้ในการวิจัย

  19. ปฏิฐานนิยม ( POSITIVISM ) ปรากฏการณ์นิยม ( PHENOMENALISM ) กระบวนทัศน์การวิจัย

  20. ความแตกต่างระหว่างกระบวนทัศน์ความแตกต่างระหว่างกระบวนทัศน์

  21. ความจริงเป็นโลกภายนอกและวัดได้ด้วยวัตถุวิสัย (OBJECTIVE) ผู้วิจัยเป็นอิสระแยกกับสิ่งที่ถูกวิจัย ความจริงเป็นเรื่องปราศจากค่านิยม ความจริงทางสังคมสร้างขึ้นในความนึกคิดของมนุษย์และเป็นอัตวิสัย (SUBJECTIVE) ผู้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งที่ถูกวิจัย ความจริงอยู่บนพื้นฐานของความเชื่อและใจของมนุษย์ ความเชื่อพื้นฐาน POSITIVISM PHENOMENALISM

  22. มุ่งประเด็นในสิ่งที่มีหลักฐาน ความจริง (FACT) มองในพื้นฐานของเชิงเหตุและผล จับแยกสภาพความจริงให้เล็กพอเหมาะกับการศึกษา สร้างสมมติฐานและทดสอบ มุ่งประเด็นของความหมาย(MEANING) พยายามเข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้น มองภาพรวมทั้งสถานการณ์ ค่อยๆ พัฒนาความคิดข้อสรุปจากข้อมูลเป็นรูปธรรม นักวิจัยควรจะ PHENOMENALISM POSITIVISM

  23. ใช้วิธีการเชิงปริมาณ สร้างนิยามเชิงปฏิบัติการเพื่อวัดได้ ใช้กรอบทฤษฎีก่อน ๆ นำ ใช้วิธีการเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการหลาย ๆ วิธี เพื่อสร้างแนวคิดนานาประการเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ไม่ใช้ทฤษฎีนำ ศึกษาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ วิธีการที่นิยมใช้ POSITIVISM PHENOMENALISM

  24. ใช้เครื่องมือในการเก็บใช้เครื่องมือในการเก็บ ข้อมูล ใช้กลุ่มตัวอย่างมาก สถานที่ทำวิจัยใช้ห้องทดลอง ใช้มนุษย์เก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างน้อยแต่เจาะลึก ทำในสภาพธรรมชาติ วิธีการที่นิยมใช้ POSITIVISM PHENOMENALISM

  25. ความตรง (VALIDITY)เครื่องมือที่ใช้วัดในสิ่งที่ต้องการวัดหรือไม่ ความเชื่อถือได้ (CREDIBILITY)ผู้วิจัยสามารถเข้าถึงและมีความรู้ ความเข้าใจในความหมายต่าง ๆ และข้อมูล ความน่าเชื่อถือ POSITIVISM PHENOMENALISM

  26. ความน่าเชื่อถือ POSITIVISM PHENOMENALISM • ความเที่ยง (RELIABILITY)การวัดให้ผลตรงกันทุกครั้งหรือไม่ (โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่ถูกวัด) • การพึ่งพาเกณฑ์ (DEPENDABILITY)การสังเกตสิ่งเดียวกัน โดยนักวิจัยหลายคน หลายโอกาส ว่าสอดคล้องกันเพียงใด

  27. ความน่าเชื่อถือ POSITIVISM PHENOMENALISM • การถ่ายโอนผลการวิจัย(TRANSFERABILITY)ความคิดและทฤษฎีที่สร้างขึ้นจากสถานการณ์หนึ่ง ๆ สามารถจะนำไปใช้กับสถานการณ์อื่นเพียงใด • การสรุปผลอ้างอิง(GENERALISABILITY)โอกาสของรูปแบบที่ถูกสังเกตในกลุ่มตัวอย่างสามารถนำไปใช้อ้างกับประชากรทั้งหมดได้มากน้อยเพียงใด

  28. กระบวนการวิจัยแบบนิรนัยในการวิจัยเชิงปริมาณกระบวนการวิจัยแบบนิรนัยในการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยทดสอบทฤษฎี ผู้วิจัยทดสอบสมมติฐานหรือ คำถามวิจัยที่มาจากทฤษฎีที่อ้างอิง ผู้วิจัยให้คำนิยามแนวคิด/ตัวแปรต่าง ๆ ซึ่งได้จากทฤษฎีที่อ้างอิง ผู้วิจัยใช้เครื่องมือ เพื่อวัดตัวแปรต่าง ๆ ในทฤษฎีที่อ้างอิง ที่มา : Cresswell, W John., 1994 : 88

  29. กระบวนการวิจัยแบบอุปนัยในการวิจัยเชิงคุณภาพกระบวนการวิจัยแบบอุปนัยในการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยพัฒนาทฤษฎี หรือเปรียบเทียบ รูปแบบที่ได้มาจากข้อมูลกับทฤษฎีอื่น ผู้วิจัยพยายามค้นหารูปแบบหรือทฤษฎีจากข้อมูลซึ่งผ่านการวิเคราะห์แล้ว วิเคราะห์แยกประเภท จัดหมวดหมู่ข้อมูล ถามคำถามเพื่อตรวจสอบข้อมูล ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อสนเทศต่าง ๆ ที่มา : Ibid., p.96

  30. เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ วิจัยเชิงทดลอง วิจัยเชิงมานุษยวิทยา วิจัยเชิงประวัติศาสตร์ วิจัยกึ่งทดลอง วิจัยเชิงสำรวจ • ปรับจาก Wierma. W. 1990 : 15

  31. ตัวอย่างคำถามวิจัย ตัวแปรที่สนใจคือ การจัดการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน คำถามวิจัย ผลการสอนต่างจากเดิมอย่างไร ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนดีขึ้นกว่าเดิมหรือไม่ ผู้สอนต้องสอนลักษณะอย่างไร มีปัญหาเกิดขึ้นระหว่างสอนหรือไม่

  32. ตัวอย่างคำถามวิจัย 4. ผู้สอน และผู้เรียนรู้สึกอย่างไร ชอบหรือไม่ชอบ เพื่อนที่ช่วยสอนรู้สึกอย่างไร เพื่อนช่วยสอนแบบตัวต่อตัวหรือแบบกลุ่มดีกว่ากัน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน กับ ผู้เรียนเป็นอย่างไร ฯลฯ

  33. การวิจัยเชิงคุณภาพ

  34. กรอบของปรากฏการณ์ทางสังคม(Lofland,1971)กรอบของปรากฏการณ์ทางสังคม(Lofland,1971) มี 6 ประเภท 1. การกระทำ (ACTS) - การใช้ชีวิตประจำวัน การกระทำ พฤติกรรมของบุคคล - กิจกรรมปกติธรรมดาทั่ว ๆ ไป วิถีชีวิต - เช่น สิ่งที่ทำ เสื้อผ้าที่ใส่ อาหารที่รับประทาน

  35. 2. กิจกรรม (ACTIVITIES) • การกระทำ/พฤติกรรมที่เป็นกระบวนการ มีขั้นตอน และมีลักษณะต่อเนื่อง • การกระทำของหลาย ๆ คนในฉาก ซึ่งแสดงถึงความสำคัญและความผูกพัน • เช่น วิธีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ กระบวนการเรียนรู้ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ

  36. 3. ความหมาย (MEANINGS) • การให้ความหมายของการกระทำ หรือ กิจกรรม โดยคำพูดที่แสดงออกของผู้ให้ข้อมูล(Actor’s verbal) อธิบายให้คำจำกัดความ หรือทิศทางของการกระทำต่อสิ่งของ เหตุการณ์ และคุณลักษณะต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งเป็นการแสดงว่า บุคคลนั้น - ทำตามวัฒนธรรม - อุดมการณ์ - หน้าที่ - ความเชื่อ - ความรับผิดชอบ - ระเบียบ - ความเข้าใจ - ระเบียบ - อคติ

  37. การที่บุคคลมองตัวเองในสังคม และเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในฐานะที่ตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และวัฒนธรรมนั้น แสดงให้เห็นว่า บุคคลมีความเชื่อ โลกทัศน์ ทัศนคติ เกี่ยวกับสภาพของสังคม วัฒนธรรมของชุมชนอย่างไร

  38. 4. การมีส่วนร่วม (PARTICIPATION) • การมีส่วนร่วมของบุคคลต่าง ๆ ในสถานการณ์หรือฉากที่เราศึกษา • บุคคลที่เข้าไปเกี่ยวข้อง ให้ความร่วมมือ ยอมมีผลได้ผลเสียในกิจกรรม แสดงว่า ยอมรับความสัมพันธ์กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมคนอื่น พร้อมจะเป็นพวกเดียวกัน • ข้อมูลสะท้อนความเข้าใจในโครงสร้างความสัมพันธ์-ความขัดแย้ง ได้ดี

  39. 5. ความสัมพันธ์ (RELATIONSHIP) • เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลต่าง ๆ • ลักษณะความสัมพันธ์เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มีอิทธิพลต่อกันและกัน • อาจเป็นแนวตั้ง/แนวนอน มิตร/ปรปักษ์ ปกป้อง/ละเลย • ถ้าเราวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของบุคคลในสังคมได้ จะนำไปสู่ ความเข้าใจในโครงสร้างของสังคม

  40. 6. สถานที่ (SETTINGS) • สภาพสังคม • รูปแบบทุกสิ่งทุกอย่างภายใต้ “สภาพศึกษา” ซึ่งใช้เป็นหน่วยการวิเคราะห์ • ภาพรวมทุกแง่ทุกมุมที่ผู้วิจัยสามารถประเมินได้ (HOLISTIC) • อาจเป็นสถาบัน ระบบ อนุระบบ (sub-settings)

  41. ขั้นตอนในการวิจัยเชิงคุณภาพขั้นตอนในการวิจัยเชิงคุณภาพ • การวางแผน • ปัญหาชั่วคราว • เลือกพื้นที่ • กำหนดเวลา • ตัวแปรที่ศึกษา • ตั้งสมมติฐานในการทำงาน • สมมติฐานชั่วคราว (working hypothesis) • ได้ปัญหาวิจัย

  42. การเก็บข้อมูล • ข้อมูลเอกสาร • สัมภาษณ์ • สังเกตแบบมีส่วนร่วม/ไม่มีส่วนร่วม • สนทนากลุ่ม • ปรับวิธีการเก็บและสมมติฐาน

  43. การวิเคราะห์แปลผล • ลดทอนขนาดข้อมูล • จัดทำให้เป็นระบบ • สรุป • การเขียนรายงาน • รูปแบบ • วิธีเขียนแสดงหลักฐาน • การพิมพ์ • การตรวจสอบ

  44. ยุทธวิธีในการศึกษาภาคสนามยุทธวิธีในการศึกษาภาคสนาม • การเลือกสนาม - การเลือกที่พัก - การใช้เวลาในสนาม - การเตรียมตัวเข้าสนาม - การเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (KEY INFORMANT)

  45. การแนะนำตัว - กำหนดบทบาทของผู้วิจัย - คนนอก - คนใน - ไม่เปิดเผย (COVERT) - เปิดเผย (OVERT)

  46. การสร้างความสัมพันธ์ • การรวบรวมข้อมูลในสนาม - ทำแผนที่ - ทางกายภาพ - ทางประชากร - ทางสังคม - เลือกตัวอย่าง - เวลา - สถานที่ - คน - เหตุการณ์

  47. วิธีการที่ใช้รวบรวมข้อมูลวิธีการที่ใช้รวบรวมข้อมูล - สังเกต - สัมภาษณ์ - วิเคราะห์เอกสาร - ฯลฯ • การจากสนาม

  48. การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง(SAMPLING DESIGN)

  49. ประเภทของการสุ่มตัวอย่างประเภทของการสุ่มตัวอย่าง • ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย • พิจารณาผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (KEY INFORMANT) • ความครอบคลุมประชากร

  50. การออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล(MEASUREMENT DESIGN)

More Related