540 likes | 696 Views
การประชุม. คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนระดับ จังหวัด. วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดนครปฐม. สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม โทร 0-3434-0023.
E N D
การประชุม คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนระดับจังหวัด วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554 ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดนครปฐม สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม โทร 0-3434-0023
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชน ระดับจังหวัดนครปฐม วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2554********************************* • ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - การประเมินมาตรฐานแผนชุมชน • ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว - ไม่มี • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณาดำเนินการ -พิจารณา ปฏิทินการประเมินฯ -พิจารณา กระบวนการแผนชุมชน -พิจารณา ความเชื่อมโยงในส่วนต่างๆของแผนชุมชน -พิจารณา แบบประเมินมาตรฐานแผนชุมชน -พิจารณา ปฏิทินการถ่ายทอดมาตรฐานให้อำเภอ • ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ ถ้ามี
กระบวนการ จัดทำแผนชุมชน
วิสัยทัศหมู่บ้าน ข้อมูลภาคีพัฒนา ข้อมูลจากราษฏร ข้อมูลจากบัญชีครัวเรือน ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค เวทีประชาคม กระบวนการ จัดทำ แผนชุมชน จัดลำดับความ สำคัญของ ปัญหา วิเคราะห์ วิสัยทัศน์ ปัญหา ความต้องการ สาเหตุของปัญหา สาเหตุของปัญหา แนวทางแก้ไข แนวทางแก้ไข โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ แนวทางแก้ไข แนวทางแก้ไข โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ
โครงสร้างความเชื่อมโยงในส่วนต่างของแผนชุมชนโครงสร้างความเชื่อมโยงในส่วนต่างของแผนชุมชน
โครงสร้างความเชื่อมโยงในเล่มแผนชุมชนโครงสร้างความเชื่อมโยงในเล่มแผนชุมชน ข้อมูล ส่วนที่ 1 ข้อมูล พื้นฐานของชุมชน ส่วนที่ 2การประเมินสถานการณ์ชุมชน การวิเคราะห์ ส่วนที่ 3 ศักยภาพของชุมชน ส่วนที่ 4สภาพปัญหา และแนวทางการพัฒนา ส่วนที่ 5 แผนชุมชน แก้ไขปัญหา ทิศทางการพัฒนา สนองความต้องการ
ข้อมูลจากภาคีการพัฒนาข้อมูลจากภาคีการพัฒนา ข้อมูลหน่วยงานข้าราชการส่วนภูมิภาค ข้อมูลกลุ่มองค์กร ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค ข้อมูลอื่น ๆ คณะกรรมการยกร่างแผนชุมชนยกร่างแผนชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน ข้าราชการส่วนภูมิภาค ข้าราชการท้องถิ่น ภาคีการพัฒนา ปราชญ์ชาวบ้าน เวทีประชาคม กลุ่มองค์กร กรรมการหมู่บ้าน ข้าราชการท้องถิ่น ราษฎรร้อยละ50 ปราชญ์ชาวบ้าน ข้าราชการภูมิภาค ภาคีการพัฒนา วิเคราะห์เป็น ค้นหาหาป็น แนวทางการพัฒนา สาเหตุแนวทางแก้ไข สนองความต้องการ โครงการ/งาน/กิจกรรม พิจารณาร่างแผนชุมชน พิจารณาข้อมูลจากราษฎรในเวทีประชาคม วิสัยทัศน์ ปัญหา/ ความต้องการ ร่างแผนจากเวที ประกาศใช้ เวทีประชาคม พิจารณา รับรอง คณะกรรมการยกร่างแผน ปรับปรุง เรียบเรียง ทำรูปเล่ม จัดส่ง
ปฏิทินการประเมิน มาตรฐานแผนชุมชน ปี 2554
ประชุมคณะทำงาน ประเมินมาตรฐานแผนชุมชน พิจารณาระบบมาตรฐานแผน 4 กพ.54 เพื่อ จนท.เกี่ยวข้อง 7-15 กพ.54 ถ่ายทอดมาตรฐานแผนฯ กับ จนท.ผู้เกี่ยวข้องถ่ายทอดฯ ผู้นำชุมชน ผู้นำชุมชนที่จะส่งแผนเข้ารับการรับรองมาตรฐาน 7- 28 กพ.54 กับ ปรับแผนชุมชน ให้ได้ตามมาตรฐานที่วางไว้ 7 กพ.-15 มีค.54 เพื่อ ส่งแผนชุมชน ให้ คณะทำงานฯ แบ่งแผนให้คณะทำงาน พิจารณาแผน 5 เม.ย 54 เพื่อ ประเมินมาตรฐาน ผู้นำชุมชนรับฟังผลการพิจารณา 4 พค. 54 ให้ ประชุมคณะกรรมการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน รับรอง 25 พค.54 เพื่อ
ส่วนที่ 1ข้อมูล พื้นฐานของชุมชน หรือ ข้อมูลสารสนเทศชุมชน 1. ประวัติศาสตร์ชุมชน 2. ลักษณะภูมิประเทศ 3. ประชากร/ครัวเรือน 4. การศึกษา 5 การประกอบอาชีพ 6. ผู้มีความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 7. สถานที่สำคัญในหมู่บ้าน
ส่วนที่ 1ข้อมูล พื้นฐานของชุมชน หรือ ข้อมูลสารสนเทศชุมชน 8. ทรัพยากรธรรมชาติ (อธิบายลักษณะ การใช้ประโยชน์ และความสำคัญ) 9. ข้อมูลการคมนาคม / สาธารณูปโภค 10. ข้อมูลการเมือง / การบริหาร (ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อาสาสมัคร) 11 ศิลปวัฒนธรรม / ประเพณีที่สำคัญ / ภูมิปัญญาท้องถิ่น 12 ข้อมูลกลุ่ม / องค์กรในชุมชน 13. ผลิตภัณฑ์ของชุมชนและท้องถิ่น (OTOP)
ส่วนที่ 2การประเมินสถานการณ์ชุมชน 1. สภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูล จปฐ. 2. สภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูล กชช. 2 ค 3. สภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ข้อมูลบัญชี รายรับ –รายจ่าย ของครัวเรือน/ชุมชน - หนี้สิน - รายจ่าย
ส่วนที่ 2การประเมินสถานการณ์ชุมชน 4. ข้อมูลเชิงวิชาการจากจากภาคีการพัฒนา 5.ปัญหาหรือผลกระทบต่อชุมชน / ครัวเรือน และ ความต้องการจากการสำรวจของผู้นำชุมชน - ปัญหาชุมชนได้แก่ - ความต้องการของชุมชนได้แก่ 5. ปัญหา / ความต้องการจากข้อมูลของภาคีการพัฒนา
ส่วนที่ 3ศักยภาพของชุมชน • ในส่วนนี้จะเป็นการนำส่วนที่ 1 (ข้อมูลพื้นฐาน) เป็นข้อมูลเพื่อค้นหาปัจจัยและผลกระทบในชุมชนเพื่อหาองค์ประกอบและปัจจัยดังนี้ • 1. ปัจจัยภายในชุมชนที่เป็น ”จุดแข็ง”S ( Strength ) • 2. ปัจจัยภายในชุมชนที่เป็น ”จุดอ่อน”W ( weakness) • 3. ปัจจัยภายนอกชุมชนที่เป็น ”โอกาส”O ( O pportunity) • 4.ปัจจัยภายนอกชุมชนที่เป็น ”ข้อจำกัด” T ( Threat ) • 5. วิสัยทัศน์ของชุมชน (ชัดเจน เป็นไปได้ ท้าทาย) • 6.ความคาดหวังของคนในชุมชน
การกำหนดความเชื่อมโยงของปัญหาการกำหนดความเชื่อมโยงของปัญหา • หนึ่งปัญหา มีได้ หลายสาเหตุ • หนึ่งสาเหตุ มีได้ หลายแนวทางแก้ไข • หนึ่งแนวทางแก้ไข มีได้ หลายแผนงาน • หนึ่งแผนงาน มีได้ หลายโครงการ งาน หรือกิจกรรม
การกำหนดความเชื่อมโยงของปัญหาการกำหนดความเชื่อมโยงของปัญหา • ดังนั้น ลองหลับตานึกดู ปัญหาหนึ่งๆกว่าจะได้คิดหนทางแก้ไขต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์มากมายกว่าจะได้โครงการ งาน หรือ กิจกรรม ที่จะแก้ไขปัญหานั้นๆได้ ฉะนั้นปัญหาหนึ่งปัญหาที่มี ควรมีทางออกเพื่อการแก้ไขโดยการกำหนดเป็นโครงการ งาน หรือกิจกรรม ได้มากมาย และมีจุดเชื่อมโยงด้วยสาเหตุและแนวทาง • การวิเคราะห์จึงมีความสำคัญในส่วนที่ 4 ซึ่งมีตาราง สรุปปัญหา ตารางสาเหตุ ตารางแนวทางแก้ไข และตารางแผนชุมชน
ส่วนที่ 4 สภาพปัญหา และแนวทางการพัฒนา • นำผลการวิเคราะห์ที่ได้จากส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 ได้แก่ ข้อมูล จปฐ.กชช.2ค ผลการวิเคราะห์ รายรับ – จ่าย ปัญหาเร่งด่วนของประชาชน และ ผลการวิเคราะห์ swotปัญหาจากภาคีการพัฒนา • กำหนดเป็นสภาพปัญหา โดยนำปัญหาทั้งหมด สรุปในตาราง ที่ 4.1
ตัวอย่าง ส่วนที่ 4.1 ตารางรวบรวมปัญหา ความต้องการจากแหล่งข้อมูลต่างๆ แผ่นที่......
ส่วนที่ 5 แผนชุมชน • เมื่อได้แนวทางแก้ไขตามตารางแล้วจึงสามารถนำมาวิเคราห์เพื่อกำหนดเป็นแผนงาน โครงการ งานหรือกิจกรรมเพื่อรองรับการแก้ไขปัญหานั้นๆ
ตารางแผนชุมชน • เมื่อได้แนวทางแก้ไขตามตารางแล้วจึงสามารถนำมาวิเคราห์เพื่อกำหนดเป็นแผนงาน โครงการ งานหรือกิจกรรมเพื่อรองรับการแก้ไขปัญหานั้นๆ
แบบประเมินมาตรฐานแผนชุมชนแบบประเมินมาตรฐานแผนชุมชน
สรุปผลการประเมินมาตรฐานแผนชุมชนรายตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินมาตรฐานแผนชุมชนรายตัวชี้วัด ลงชื่อ ...................................................................... ผู้ประเมิน (................................................)
คำอธิบาย มาตรฐานแผนชุมชน ประกอบด้วย ตัวชี้วัด 5 ตัว 100 คะแนน
ตัวชี้วัดที่ 1ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 20คะแนน พิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ 6 ด้าน • ด้านที่ 1การพึ่งตนเอง ( 4 คะแนน) • * มีกิจกรรมในแผนชุมชนแสดงให้เห็นถึงความต้องการพึ่งตนเองของหมู่บ้าน/ชุมชน • * หรือมีเป้าหมายดำเนินการ เพื่อให้หมู่บ้าน/ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ • ด้านที่ 2มีกิจกรรมที่มีลักษณะเป็นการช่วยเหลือ • ซึ่งกันและกันของคน (3 คะแนน) • * ในชุมชน • * ช่วยเหลือชุมชนอื่น
ด้านที่ 3มีกิจกรรมส่งเสริมให้คนในหมู่บ้านเก็บออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ ( 4 คะแนน) • ด้านที่ 4ภูมิคุ้มกันชุมชน (3 คะแนน) • * มีกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ เพื่อให้คนในหมู่บ้าน • รู้และเข้าใจ • ∞ สถานการณ์/ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และอาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน • * มีกิจกรรมเพื่อป้องกัน หรือบรรเทาผลกระทบเหล่านั้น
ด้านที่ 5ภูมิปัญญาชาวบ้าน ( 3 คะแนน) • * มีกิจกรรมแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาหมู่บ้านที่ใช้ความรู้ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น • ด้านที่ 6อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน (3 คะแนน) • * มีกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 2การมีส่วนร่วม 20 คะแนน พิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ 3 ด้าน • ด้านที่ 1การมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน( 7คะแนน) • * ร้อยละของคนในหมู่บ้าน/ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำแผนชุมชน • ด้านที่ 2การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกระบวนการจัดทำแผนชุมชน (6 คะแนน) • * ภาครัฐ * รัฐวิสาหกิจ • * องค์กรเอกชน * องค์กรพัฒนาเอกชน
ด้านที่ 3ลักษณะของการมีส่วนร่วม ( 7 คะแนน) • * ร่วมคิด • * ร่วมตัดสินใจ • * ร่วมกิจกรรม • * ร่วมวิเคราะห์ • * ร่วมดำเนินงาน • * ติดตามประเมินผล • * การใช้ประโยชน์ • ********************
ตัวชี้วัดที่ 3กระบวนการเรียนรู้ 20คะแนน พิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ (2ประเด็น) • 1ใช้เวทีประชาคมในการ ( 10 คะแนน) • * แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในหมู่บ้าน • * ถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน • 2มีการทบทวนและจัดการความรู้ (10คะแนน) • กระบวนการจัดทำแผนชุมชนของหมู่บ้าน/ชุมชน • เพื่อปรับปรุงให้แผนชุมชนมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดที่ 4การใช้ประโยชน์ 25 คะแนน พิจารณาจำนวนกิจกรรมตามแผนชุมชน ที่สามารถนำมาปฏิบัติได้จริง จำแนกเป็น 3 ส่วน • 1จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชน ดำเนินการเอง • (8คะแนน) • 2จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ (6คะแนน) • 3จำนวนกิจกรรมที่หมู่บ้าน/ชุมชนจะต้องให้หน่วยงานต่าง ๆ ดำเนินการให้ทั้งหมด (6คะแนน) • **************
ตัวชี้วัดที่ 5รูปเล่มของแผนชุมชน 20 คะแนน พิจารณาองค์ประกอบของแผนชุมชน ดังนี้ (6ด้าน) • ด้านที่1มีข้อมูลแสดงประวัติ/ความเป็นมาของหมู่บ้าน • ด้านที่ 2มีข้อมูลแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน หรือสภาพปัญหาที่หมู่บ้าน/ชุมชนประสบอยู่ • ด้านที่ 3มีข้อมูลแสดงแนวทางการแก้ไข/การพัฒนาหมู่บ้าน
ด้านที่ 4มีกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน จัดเป็น 2 กลุ่ม คือ จัดกลุ่มตามลักษณะการดำเนินงานกิจกรรม • ∞ ทำเอง • ∞ ทำร่วม • ∞ ทำให้ • * จัดกลุ่มตามประเภทของกิจกรรม • ∞ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ • ∞ กิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม • ∞ กิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ • ด้านที่ 5 มีการปรับปรุงแผนชุมชนอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง
ด้านที่ 6ความสอดคล้องเชื่อมโยง โดยพิจารณาจาก • องค์ประกอบที่ 1 คือองค์ประกอบว่าด้วยเรื่องข้อมูลซึ่งประกอบด้วย ส่วนที่ 1 (ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนฯ) และส่วนที่ 2 (การประเมินสถานณ์การชุมชน) ซึ่งมีข้อมูลจากภาคีการพัฒนา ฐานข้อมูลเชิงวิชาการและข้อมูลจากเวทีประชาคม • องค์ประกอบที่ 2 คือองค์ประกอบของการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งมี ส่วนที่ 3 (ศักยภาพของชุมชน) และส่วนที่ 4 (สภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนา) ซึ่งองค์ประกอบที่ 3 ต้องนำข้อมูลในส่วนที่ 1 มาเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ด้วยกระบวนการ SWOT เพื่อค้นหาวิสัยทัศน์ชุมชน และส่วนที่ 4 ต้องนำข้อมูลในส่วนที่ 2 มาเพื่อค้นหาปัญหา สาเหตุ และแนวทางการแก้ไข • องค์ประกอบที่ 3 เป็นส่วนแผนชุมชน เป็นส่วนที่เป็นโครงการ / งาน / กิจกรรม ที่ได้จากการเชื่อมโยงผลการวิเคราะห์วิสัยทัศน์จากส่วนที่ 3 และแนวทางการแก้ไขจากส่วนที่ 4 • ผลของโครงการ/งาน/กิจกรรม ต้อง แก้ไขปัญหา สนองความต้องการและกำหนดแนวทางการพัฒนาได้
เกณฑ์การประเมินแผนชุมชนเกณฑ์การประเมินแผนชุมชน • แผนชุมชนทั้ง 5 ตัวชี้วัด ต้องได้คะแนนรวมมากกว่า • 70คะแนนขึ้นไป • ตัวชี้วัดแต่ละด้าน ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 • คะแนนในตัวชี้วัดแต่ละด้าน
การประชุม คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนระดับจังหวัด วันที่ 5 เมษายน 2554 ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดนครปฐม สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม โทร 0-3434-0023
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชน ระดับจังหวัดนครปฐม วันที่ 5 เมษายน 2554********************************* • ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ - การประเมินมาตรฐานแผนชุมชน • ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณาดำเนินการ - การพิจารณาแบบการประเมินมาตรฐานแผนชุมชน (ผลการหารือ เจ้าหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชน) - การจัดสรร การประเมินมาตรฐานแผนชุมชน - พิจารณา แบบประเมินมาตรฐานแผนชุมชน - พิจารณา กระบวนการแผนชุมชน - พิจารณา ความเชื่อมโยงในส่วนต่างๆของแผนชุมชน • ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ ถ้ามี
การพิจารณาแบบการประเมินมาตรฐานแผนชุมชน (ผลการหารือ เจ้าหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชน) • เรียน หัวหน้า วรรณา ผมอภิชาติ สวนประเสริฐ จากจังหวัดนครปฐม ขณะนี้ผมอยู่กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน และรับผิดชอบงานแผนชุมชน มีปัญหาอย่างจะถามหัวหน้าเรื่องมีดังนี้ ผมประชุมคณะทำงานประเมินมาตรฐานแผนชุมชนจังหวัด เพื่อหารือเรื่องการประเมินมาตรฐานแผนชุมชนในปี 2554 ในที่ประชุมได้มีการพิจารณาเรื่องแบบประเมิน (ตามเอกสารที่ส่งมาด้วย) และตั้งข้อสังเกตดังนี้ ในแบบประเมินมีตัวชี้วัดหลักจำนวน 5 ตัวชี้วัด และในแต่ละตัวชี้วัดหลักจะมีตัวชี้วัดรอง ซึ่งมีค่าคะแนนที่จะประเมินแผนชุมชนนั้นระบุจำนวนคะแนนเต็มไว้ อาธิเช่น 1.1 ความพอประมาณ มีคะแนนเต็ม 5 คะแนน ปัญหามีอยู่ว่า คะแนนที่ผู้ประเมินจะประเมินแผนชุมชนนั้นจะให้ได้อย่างไร ระหว่าง หากเข้าหลักเกณฑ์นี้จะได้เต็มนั้นก็คือ 5 คะแนน หรือว่า ไม่เข้าหลักเกณฑ์ หรือเข้าบ้าง จะได้คะแนน 0 คะแนน หรือ หากว่าจะให้คะแนนระหว่าง 1 – 4 คะแนน ในตัวชี้วัดดังกล่าวนั้นจะมีหลักเกณฑ์ อย่างไร ผมขอความกรุณาให้ความชัดเจนด้วยครับ เพราะต้องให้คำตอบคณะทำงานฯ
การพิจารณาแบบการประเมินมาตรฐานแผนชุมชน (ผลการหารือ เจ้าหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชน) • นายสุทธิพร สมแก้ว (16 Mar 11 12:24): ขอนำเรียนในเรื่องระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ดังนี้ - ในการจัดเวทีพิจารณ์เครื่องมือตัวชี้วัดการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน เมื่อปี 2551 สำนักฯ ร่วมกับเทคโนลาดกระบัง ได้เสนอในเรื่องเกณฑ์คะแนนไว้ 2 รูปแบบ คือ • 1. เกณฑ์ 2 ระดับ คือ ใช่/ไม่ใช่ หรือ ถูก/ผิด หรือ 1/0 • 2. เกณฑ์มากกว่า 2 ระดับ โดยให้คณะกรรมการฯ พิจารณาให้ค่านำหนักคะแนนตามหลักฐานที่แสดงให้เห็นได้ เช่น 0-1-2-3-4-5 - ซึ่งที่ประชุมสรุปว่า ให้ใช้ เกณฑ์มากกว่า 2 ระดับ • โดยในเวที ได้ให้แต่ละพื้นที่ ที่เป็นพื้นที่ทดสอบทดลอง ได้ยกตัวอย่างในส่วนของหลักฐานที่แสดงให้เห็น ว่าจะดูได้จากอะไรบ้าง แล้วให้อำนาจคณะกรรมการฯ แต่ละที่แต่ละจังหวัด ได้พิจารณากำหนดร่วมกัน ว่าจะเพิ่ม/ลด หลักฐานที่แสดงให้เห็นตัวไหน อย่างไรบ้าง และวางค่าน้ำหนักคะแนนในเกณฑ์นั้นๆ ตามกรอบตัวชี้วัด ซึ่งให้เริ่มใช้ในปี 2552 และกรมฯ ให้แนวทางกับจังหวัดในการปรับในปี 2553 - 2554 ได้อีก หรือจะใช้ตามค่าคะแนนที่วางไว้ ในปี 2552-2554 เลยก็ได้ - ดังนั้น ทางนครปฐม สามารถที่จะพิจารณาใช้เกณฑ์ที่ดำเนินการมาในปี 2552-2553 สำหรับใช้ในปี 2554 ก็ได้ หรือคณะกรรมการฯ อาจจะพิจารณาขอปรับบางตัวก็ได้ แต่ภายใต้กรอบตัวชี้วัดใหญ่ ของระบบรับรองมาตรฐานแผนชุมชน ครับ
การจัดสรร การประเมินมาตรฐานแผนชุมชน • จำนวนคณะทำงานประเมินมาตรฐานได้จำนวน 20 ท่าน แผนชุมชนที่ต้องประเมินในขณะนี้มีจำนวน 332 แผน ดังนั้นความรับผิดชอบในการประเมินแผนจะอยู่ที่ 16.6 แผน/คน หรือ 17 แผน (โดยประมาณ ) • ในขณะนี้มีจำนวนผู้ส่งแผนชุมชนแล้ว 77 แผน คณะทำงานประเมิน ฯ จำนวน 5 ท่าน จะได้รับแผนชุมชนจำนวน 16 เล่ม (โดยประมาณ) ในวันนี้ ไปก่อน • กำหนดประชุมเพื่อประเมินแผน ในวันที่ 4 พฤษภาคม 54 ณ.รร.เวล