220 likes | 413 Views
หลักการ แนวคิด และงบประมาณ การดำเนินโครงการ พัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. โดย ผู้อำนวยการกองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน. 1 มีนาคม 2550 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร. หลักการ
E N D
หลักการ แนวคิด และงบประมาณการดำเนินโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย ผู้อำนวยการกองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน 1 มีนาคม 2550 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร
หลักการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน “ทฤษฎีใหม่”ตามแนวพระราชดำริ
หลักการ (ต่อ) นโยบายของรัฐบาลได้กำหนดแนวทางการพัฒนาทางการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องนำทาง ดังนั้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะผู้ดูแลภาคการเกษตรและเกษตรกรจึงเห็นสมควรจัดทำโครงการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่โดยยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น
แผนการดำเนินงาน ประกอบด้วย 2 กิจกรรมหลัก 1) กิจกรรมศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน สำนักช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจน สป.กษ. 2) กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ กองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน สป.กษ.
กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม รวมงบประมาณทั้งสิ้น 85 ล้านบาท 1. ส่งเสริมและสนับสนุน การดำเนินการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 120,000 ราย (งบประมาณ 10 ล้านบาท) 2. อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร เป้าหมาย 20,000 ราย โดยใช้ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน 40 ศูนย์ (งบประมาณ 60 ล้านบาท) 3. ส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง ให้เกิดการรวมกลุ่ม/วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ ตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายและการเชื่อมโยงเครือข่ายตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 40 กลุ่ม (งบประมาณ 10 ล้านบาท) 4. บริหาร อำนวยการโครงการฯ (งบประมาณ 5 ล้านบาท)
ส่งเสริมและสนับสนุน การดำเนินการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 • จัดทำทะเบียนเกษตรกร • จัดทำรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานโครงการฯ • บูรณาการแผนงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง • คณะอนุกรรมการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด
คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียงคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม รวมงบประมาณทั้งสิ้น 85 ล้านบาท 1. ส่งเสริมและสนับสนุน การดำเนินการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 120,000 ราย (งบประมาณ 10 ล้านบาท) 2. อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร เป้าหมาย 20,000 ราย โดยใช้ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน 40 ศูนย์ (งบประมาณ 60 ล้านบาท) 3. ส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง ให้เกิดการรวมกลุ่ม/วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ ตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายและการเชื่อมโยงเครือข่ายตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 40 กลุ่ม (งบประมาณ 10 ล้านบาท) 4. บริหาร อำนวยการโครงการฯ (งบประมาณ 5 ล้านบาท)
อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร • ภาคเหนือ 5 ศูนย์ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 16 ศูนย์ • ภาคกลาง + ตะวันออก 10 ศูนย์ • ภาคใต้ 9 ศูนย์ เป้าหมาย 20,000 ราย โดยใช้ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน 40 ศูนย์
ภาคเหนือ จำนวน 5 ศูนย์ เชียงใหม่ 2 ศูนย์ พะเยา 1 ศูนย์ อุตรดิตถ์ 1 ศูนย์ น่าน 1 ศูนย์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 16 ศูนย์ สุรินทร์ 1 ศูนย์ บุรีรัมย์ 4 ศูนย์ ขอนแก่น 4 ศูนย์ อำนาจเจริญ 1 ศูนย์ นครราชสีมา 3 ศูนย์ อุบลราชธานี 1 ศูนย์ นครพนม 1 ศูนย์ ศรีสะเกษ 1 ศูนย์
ภาคกลาง +ตะวันออก จำนวน 10 ศูนย์ สระแก้ว 1 ศูนย์ นครนายก 1 ศูนย์ กาญจนบุรี 1 ศูนย์ ฉะเชิงเทรา 1 ศูนย์ ชลบุรี 1 ศูนย์ ระยอง 1 ศูนย์ จันทบุรี 1 ศูนย์ นครปฐม 1 ศูนย์ สุพรรณบุรี 2 ศูนย์
ภาคใต้ จำนวน 9 ศูนย์ ชุมพร 1 ศูนย์ นครศรีธรรมราช 4 ศูนย์ พัทลุง 1 ศูนย์ สงขลา 1 ศูนย์ ตรัง 1 ศูนย์ นราธิวาส 1 ศูนย์
กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่กิจกรรมการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ ประกอบด้วย 4 กิจกรรม รวมงบประมาณทั้งสิ้น 85 ล้านบาท 1. ส่งเสริมและสนับสนุน การดำเนินการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 120,000 ราย (งบประมาณ 10 ล้านบาท) 2. อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร เป้าหมาย 20,000 ราย โดยใช้ศูนย์เรียนรู้ปราชญ์ชาวบ้าน 40 ศูนย์ (งบประมาณ 60 ล้านบาท) 3. ส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรที่มีความเข้มแข็ง ให้เกิดการรวมกลุ่ม/วิสาหกิจชุมชน/สหกรณ์ ตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายและการเชื่อมโยงเครือข่ายตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 40 กลุ่ม (งบประมาณ 10 ล้านบาท) 4. บริหาร อำนวยการโครงการฯ (งบประมาณ 5 ล้านบาท)
ส่งเสริมและสนับสนุนเกษตรกรให้เกิดการรวมกลุ่มตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2 และสร้างเครือข่ายและการเชื่อมโยงเครือข่ายตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3 • สำรวจและคัดเลือกกลุ่ม/สหกรณ์/วิสาหกิจชุมชน ตามกำหนดเกณฑ์การ คัดเลือก จังหวัดละ 1 กลุ่ม เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้น และจัดทำแผนปฏิบัติการ 75 จังหวัด • พิจารณาและสนับสนุนแผนปฏิบัติการ สนับสนุนเครือข่าย ส่งเสริมเครือข่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ 75 จังหวัด • คัดเลือกและดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ นำเสนอผลงานและรายงานความก้าวหน้า 40 กลุ่ม • จัดเวทีในระดับภูมิภาคเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างเครือข่าย ระหว่างผลิตภัณฑ์ฯ จัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายส่วนภูมิภาค 4 ครั้ง และส่วนกลาง 1 ครั้ง • สรุปผลงานของโครงการ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ และมีความมั่นคงในอาชีพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ชุมชนมีความเข้มแข็ง เศรษฐกิจชุมชนมีความมั่นคงและยั่งยืน อันจะเป็นการลดปัญหาความยากจนของประเทศ • เกษตรกรมีความสุขอย่างยั่งยืน บนฐานโครงสร้างที่มีดุลยภาพ • การเกษตรในระดับฟาร์ม และระดับชุมชน ได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสม เกษตรกรมีความสามารถในการแข่งขันจนสามารถเป็นผู้ประกอบการได้
รายละเอียดโครงการ www.moac.go.th หรือ www.moac.go.th/builder/atsapd(กนท.)
เลือกกองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืนเลือกกองนโยบายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน
หากมีคำถามกรุณาส่งมาที่หากมีคำถามกรุณาส่งมาที่ atsap_agr@yahoo.com