710 likes | 1.1k Views
โครงการฝึกอบรม ระบบบำเหน็จค้ำประกัน ในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ 2554 วันที่ 22 มีนาคม 2554 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมพลอยแดง ศาลากลางจังหวัดตราด. พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ(ฉบับที่ 26) พ.ศ.2553ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 30 เมษายน 2553. เหตุผลในการประกาศใช้
E N D
โครงการฝึกอบรม ระบบบำเหน็จค้ำประกันในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ 2554 วันที่ 22 มีนาคม 2554 เวลา 09.00 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมพลอยแดง ศาลากลางจังหวัดตราด
พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ(ฉบับที่ 26) พ.ศ.2553ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 30 เมษายน 2553 เหตุผลในการประกาศใช้ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของผู้รับบำนาญ ส่งเสริมการลงทุนอันเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ ของประเทศในภาพรวม
บำเหน็จค้ำประกัน(ผู้เกี่ยวข้อง)บำเหน็จค้ำประกัน(ผู้เกี่ยวข้อง) • ผู้รับบำนาญ • ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ • ส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้อง • กรมบัญชีกลาง หรือสำนักงานคลังจังหวัด • สถาบันการเงิน (ธนาคารผู้ให้กู้)
บำเหน็จค้ำประกัน วิธีการใช้สิทธิ ของผู้รับบำนาญ
ผู้รับบำนาญที่สามารถใช้สิทธิได้ผู้รับบำนาญที่สามารถใช้สิทธิได้ • ผู้รับบำนาญปกติ และหรือบำนาญพิเศษเหตุทุพพลภาพ • มีทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ และหรือมีผู้ที่แสดงเจตนา ให้รับบำเหน็จตกทอด (ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด) • ยินยอมให้ส่วนราชการผู้เบิก หักบำนาญและเงินอื่นที่ได้รับในแต่ละเดือน ชำระคืนเงินกู้ให้แก่ธนาคารตามสัญญากู้เงิน • ยินยอมให้เปิดเผยข้อมูล
การเตรียมตัวของผู้รับบำนาญในขณะนี้การเตรียมตัวของผู้รับบำนาญในขณะนี้ • ติดต่อส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ (นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ) • ตรวจสอบรายชื่อทายาทผู้มีสิทธิรับบำเหน็จ ตกทอด และหรือ รายชื่อบุคคลที่ได้แสดงเจตนาให้รับบำเหน็จตกทอด
ทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ • บิดา มารดา • คู่สมรส • บุตร (บุตรบุญธรรม) • บุคคลซึ่งได้แสดงเจตนาไว้ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด กรณีฐานข้อมูลลำดับใดไม่สมบูรณ์ • นำหลักฐานการเป็นทายาทไปแสดงที่ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ (ติดต่อนายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ) • ทำหนังสือแสดงเจตนา ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด
หลักฐานที่กำหนดให้นำไปแสดงหลักฐานที่กำหนดให้นำไปแสดง § สำเนาทะเบียนบ้านของทายาททุกคน § หลักฐานการเป็นบิดา มารดา คู่สมรส บุตร (บุตรบุญธรรม) § หลักฐานการตายของ บิดา มารดา คู่สมรส บุตร (บุตรบุญธรรม) § สำเนาการเปลี่ยนชื่อ นามสกุล § สำเนาทะเบียนบ้านของบุคคลที่ ผู้รับบำนาญแสดงเจตนาไว้ ใน หนังสือแสดงเจตนา นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญจะบันทึกข้อมูลทายาทผู้มีสิทธิรับ บำเหน็จตกทอดลงในระบบบำเหน็จบำนาญ ให้สมบูรณ์ จากหลักฐานที่ ผู้รับบำนาญนำมาแสดง
หนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอดหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด ตามแบบและวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ข้าราชการ และผู้รับบำนาญ ระบุชื่อบุคคลธรรมดา ไม่จำกัดจำนวน (แก้ไขแล้ว ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 มกราคม 2554) ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ / ให้ลงลายมือชื่อรับหนังสือ ในหน้า 2 ให้ท่านเก็บคู่ฉบับหนังสือไว้ 1 ฉบับ
สถานที่ยื่นคำร้อง • ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ • ส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้อง ส่วนราชการต้นสังกัดระดับกรม หรือหน่วยเบิกต้นสังกัด ในส่วนภูมิภาคที่ขอเบิกบำนาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน หรือเงินสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆของผู้รับบำนาญ ซึ่งรับแบบคำร้องขอรับหนังสือรับรองจากผู้รับบำนาญ จังหวัดไหนก็ได้ในสังกัด
หนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอดคงเหลือหนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอดคงเหลือ หนังสือรับรองที่กรมบัญชีกลาง หรือสำนักงานคลังจังหวัด ออกให้ ผู้รับบำนาญไปแล้ว จะไม่ออกให้ใหม่อีก ยกเว้น กรณี • ฉบับเดิมชำรุด - ยื่นแบบคำร้องพร้อมแนบหนังสือรับรองฉบับเดิม • ฉบับเดิมสูญหาย - ยื่นแบบคำร้องพร้อมแนบใบแจ้งความ • ธนาคารไม่อนุมัติเงินกู้ และไม่คืนหนังสือรับรองสิทธิ • ผู้รับบำนาญยกเลิกการขอกู้เงิน - ธนาคารไม่คืนหนังสือรับรองสิทธิ • ชำระหนี้ตามสัญญาหมดแล้ว
หนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอดคงเหลือหนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอดคงเหลือ • หนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอดคงเหลือเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันการยื่นกู้เงินกับสถาบันการเงินได้ไม่เกินจำนวนที่ระบุในหนังสือรับรอง • สถาบันการเงินมีสิทธิเข้าดูข้อมูลของผู้รับบำนาญในระบบบำเหน็จ ค้ำประกัน เพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติการกู้เงิน สำหรับรายที่ยื่นหนังสือรับรอง
วงเงินประกันการกู้เงินวงเงินประกันการกู้เงิน จำนวนเงินอย่างสูงที่ใช้เป็นหลักประกันการกู้เงิน ซึ่งมีจำนวนไม่เกินสิทธิในบำเหน็จตกทอด ที่ได้หักบำเหน็จดำรงชีพออกแล้ว เมื่อผู้รับบำนาญนำบำเหน็จตกทอดไปค้ำประกันการกู้เงินแล้ว จะขอบำเหน็จดำรงชีพที่เหลืออีกไม่ได้ จนกว่าการกู้เงินตามสัญญาจะสิ้นสุดลง
วงเงินประกันการกู้เงิน (2) การค้ำประกัน ธนาคารอนุมัติเงินกู้ต่ำกว่าจำนวนเงินในหนังสือรับรอง ระบบจะ Lock ทั้งจำนวน ระบบจะ Lock ไม่ให้ออกหนังสือรับรองส่วนที่เหลือ (ถือว่าเป็นการแบ่งวงเงินค้ำประกัน)
การคำนวณบำเหน็จตกทอดกรณีผู้รับบำนาญตายการคำนวณบำเหน็จตกทอดกรณีผู้รับบำนาญตาย การคำนวณ บำนาญ + เงิน ช.ค.บ. X 30 หัก บำเหน็จดำรงชีพที่ได้รับไปแล้ว
บำเหน็จดำรงชีพ เลือกรับ ครั้งเดียว เมื่ออายุครบ 65 ปีบริบูรณ์แล้ว • 15 เท่าของบำนาญ • ไม่เกินสี่แสนบาท รับครั้งแรก • 15 เท่าของบำนาญ • ไม่เกินสองแสนบาท รับครั้งที่สอง เมื่ออายุครบ 65 ปีบริบูรณ์แล้ว • 15 เท่าของบำนาญ • ไม่เกินสองแสนบาท
การคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือการคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือ บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญ 10,000 บาท x 15 เท่า = 150,000 บาท รับครั้งเดียว 150,000 บาท บำเหน็จตกทอด บำนาญ 10,000 บาท + ชคบ.3,915 บาทx 30 เท่า = 417,450 บาท หัก บำเหน็จดำรงชีพ 150,000 บาท บำเหน็จตกทอดคงเหลือ 267,450 บาท
การคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือการคำนวณบำเหน็จตกทอดคงเหลือ บำเหน็จดำรงชีพ บำนาญ 30,000 บาท x 15 เท่า = 450,000 บาท รับครั้งแรก 200,000 บาท รับเมื่ออายุครบ 65 ปี 200,000 บาท บำเหน็จตกทอด บำนาญ 30,000 บาท + ชคบ.1,500 บาท x 30 เท่า = 945,000 บาท หัก บำเหน็จดำรงชีพ 400,000 บาท บำเหน็จตกทอดคงเหลือ จำนวน 545,000 บาท
ระบบบำเหน็จค้ำประกัน ระบบงานที่ใช้งานเกี่ยวกับการขอรับ และการออกหนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอด เพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน และการรับส่งข้อมูลกับสถาบันการเงินที่เกี่ยวข้อง กับการนำบำเหน็จตกทอดไปใช้เป็นหลักทรัพย์ ประกันการกู้เงิน
ผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบบำเหน็จค้ำประกันผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบบำเหน็จค้ำประกัน กรมบัญชีกลางกำหนด รหัสผู้ใช้งาน(User Id) และรหัสผ่าน(Password) เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง • ส่วนราชการผู้เบิก (รับคำร้อง ส่งข้อมูล) • กรมบัญชีกลาง และสำนักงานคลังจังหวัด (ผู้ออกหนังสือรับรอง) • สถาบันการเงิน (ผู้พิจารณาการให้กู้เงิน)
ส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้องส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้อง การรับและตรวจสอบคำร้องกับฐานข้อมูลในระบบ • เป็นผู้รับบำนาญตามกฎหมาย • มีทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ และหรือมีหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด • ไม่มีทายาทตามกฎหมายบำเหน็จบำนาญ แต่มีหนังสือแสดงเจตนา ระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด • มีบำเหน็จตกทอดคงเหลือ กรณีฐานข้อมูลในข้อ 2. หรือ 3. ไม่สมบูรณ์ ให้แจ้งนายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญดำเนินการ
ส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้องส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้อง บันทึกรับรองในระบบ • มีทายาทและหรือหนังสือแสดงเจตนา • ไม่มีทายาทแต่มีหนังสือแสดงเจตนา • มีบำเหน็จตกทอดคงเหลือ • ที่อยู่ที่ผู้รับบำนาญแจ้งไว้ในแบบคำร้อง • ลงทะเบียนรับเรื่อง ออกใบรับเรื่อง ส่งข้อมูลให้กรมบัญชีกลางหรือสำนักงานคลังจังหวัด ผ่านระบบบำเหน็จค้ำประกัน เก็บรักษาแบบคำร้องที่ลงนามรับรองแล้วไว้เป็นหลักฐานในการตรวจสอบต่อไป
การขอรับบำเหน็จดำรงชีพ- การออกหนังสือรับรองสิทธิ • การลงทะเบียนขอให้สั่งจ่ายบำเหน็จดำรงชีพ ของส่วนราชการผู้ขอ • การลงทะเบียนรับคำร้องขอให้ออกหนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอดคงเหลือ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ หรือส่วนราชการผู้เบิก ที่รับคำร้อง หากมีการลงทะเบียนในกรณีใดก่อน จะไม่สามารถลงทะเบียนอีกกรณีหนึ่งได้ จนกว่า จะยกเลิกการลงทะเบียนในกรณีแรกเสียก่อน
กรมบัญชีกลาง หรือสำนักงานคลังจังหวัด การออกหนังสือรับรอง • ลงทะเบียนรับคำร้องจากระบบบำเหน็จค้ำประกัน • ตรวจสอบข้อมูลในระบบ • บันทึกยืนยันข้อมูลในระบบบำเหน็จค้ำประกัน • พิมพ์หนังสือรับรองเสนอผู้มีอำนาจลงนาม • ส่งหนังสือรับรองให้ผู้รับบำนาญทางไปรษณีย์ • ส่งข้อมูลให้ส่วนราชการผู้เบิกผ่านระบบบำเหน็จค้ำประกัน กรณีข้อมูลไม่ถูกต้อง หรือไม่สมบูรณ์ ให้ส่งคืนข้อมูลคำร้องผ่านระบบบำเหน็จค้ำประกัน
ความหมายของสถาบันการเงินความหมายของสถาบันการเงิน สถาบันการเงิน หมายความว่า ธนาคารพาณิชย์ ที่อยู่ในกำกับของกระทรวงการคลัง หรือธนาคารพาณิชย์ของเอกชนหรือสถาบันการเงินอื่น ซึ่งได้ทำข้อตกลงกับกรมบัญชีกลาง เพื่อให้ผู้รับบำนาญขอกู้เงิน
สถาบันการเงิน • ลงทะเบียนรับหนังสือรับรองในระบบบำเหน็จค้ำประกัน • ตรวจสอบข้อมูลของผู้รับบำนาญที่ยื่นหนังสือรับรอง • อนุมัติการกู้เงิน ไม่เกินวงเงินในหนังสือรับรองหรือข้อมูล ในระบบซึ่ง online real time (ใช้ยอดที่ต่ำกว่า) • ไม่อนุมัติการกู้เงิน - คืน หรือไม่คืนหนังสือรับรองก็ได้
กรณีสถาบันการเงินอนุมัติการกู้เงินกรณีสถาบันการเงินอนุมัติการกู้เงิน • นำข้อมูลการอนุมัติการกู้เงินเข้าระบบทันที • จัดทำข้อมูลหนี้เพื่อหักบำนาญชำระหนี้รายเดือน ให้นำข้อมูลแต่ละเดือนเข้าระบบบำเหน็จค้ำประกัน ภายในระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด • ขอรับบำเหน็จตกทอดกรณีลูกหนี้ผิดนัดหรือถึงแก่ความตาย
กรณีสถาบันการเงินไม่อนุมัติการกู้เงินกรณีสถาบันการเงินไม่อนุมัติการกู้เงิน • กรณีมีการคืนหนังสือรับรองให้ผู้รับบำนาญ ให้ยกเลิกการลงทะเบียนรับหนังสือในระบบด้วย เพื่อให้ผู้รับบำนาญนำหนังสือฉบับนั้นไปยื่นกู้กับธนาคารอื่นได้ • กรณีไม่คืนหนังสือรับรองให้ผู้รับบำนาญ ให้บันทึกการไม่คืนหนังสือลงในระบบด้วย เพื่อให้ระบบยินยอมให้ส่วนราชการผู้เบิกสามารถออกหนังสือรับรองฉบับใหม่ให้แก่ผู้รับบำนาญได้
การหักหนี้ของส่วนราชการผู้เบิกการหักหนี้ของส่วนราชการผู้เบิก ส่วนราชการผู้เบิก • ดำเนินการส่งข้อมูลหนี้( แบบ สรจ.6 )ให้ส่วนราชการเจ้าสังกัด • ธนาคารจะส่งข้อมูลหนี้บำเหน็จค้ำประกันของผู้รับบำนาญในสังกัด ผ่านระบบบำเหน็จบำนาญทุกเดือน • ตรวจสอบรายการหนี้บำเหน็จค้ำประกันที่ได้รับจากธนาคาร ทุกเดือน • บันทึกรายการหักหนี้ในแบบ สรจ.6 แล้วให้ตรวจสอบยอดรวมเงินว่าเมื่อรวมแล้ว มีบำนาญคงเหลือเพียงพอให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดหักหนี้บำเหน็จค้ำประกันหรือไม่
ส่วนราชการผู้เบิก ลำดับการหักหนี้ 1.ภาษีอากร 2.สหกรณ์ 3.บำเหน็จค้ำประกัน 4.หนี้อื่น ๆ
บำนาญ +ช.ค.บ. เดือนละ 30,000 บาท 1. หักภาษี 700 บาท กันส่วนสำหรับ หักบำเหน็จค้ำประกัน จำนวน 9,000 บาท หักหนี้อื่น ใน สรจ.6 ไม่เกินจำนวน 7,300 บาท 2. หักหนี้ สหกรณ์ จำนวน 13,000 บาท ใน สรจ.6
การหักหนี้ของส่วนราชการเจ้าสังกัดการหักหนี้ของส่วนราชการเจ้าสังกัด ส่วนราชการเจ้าสังกัด • รับข้อมูลหนี้ (แบบ สรจ.6) จากส่วนราชการผู้เบิก • หักหนี้บำเหน็จค้ำประกันให้ธนาคาร (ผู้ให้กู้) • จัดทำแบบ สรจ.7 และ สรจ. 8 ส่งให้กรมบัญชีกลางเพื่อดำเนินการต่อไป • แบบ สรจ.7 และ สรจ.8 จะแยกยอดหนี้ออกเป็นสองรายการ ดังนี้ $ หนี้ของส่วนราชการผู้เบิก (จาก แบบ สรจ.6) $ หนี้บำเหน็จค้ำประกัน
กรมบัญชีกลาง • โอนหนี้ที่หักรายเดือนจากผู้รับบำนาญ(ผู้กู้) เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสถาบันการเงิน (ผู้ให้กู้) • ส่งหลักฐานการหักเงินให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • ส่งหลักฐานการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้สถาบันการเงิน (ผู้ให้กู้)
กรณีผิดนัดชำระหนี้ สถาบันการเงิน(ผู้ให้กู้) • ทำหนังสือพร้อมแนบหลักฐานแสดงจำนวนหนี้ค้างชำระ • ส่งข้อมูลผ่านระบบบำเหน็จค้ำประกัน • แจ้งกรมบัญชีกลาง กรมบัญชีกลาง • สั่งจ่ายบำเหน็จตกทอดเพื่อชำระหนี้ในส่วนที่เหลือตามสัญญากู้เงิน • โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสถาบันการเงิน(ผู้ให้กู้)
กรณีผู้รับบำนาญเสียชีวิตกรณีผู้รับบำนาญเสียชีวิต ส่วนราชการผู้เบิก • ส่งแบบ สรจ.12 ให้กรมบัญชีกลาง (ตาม ว 53) กรมบัญชีกลาง • งดเบิกบำนาญ • แจ้งสถาบันการเงิน
กรณีเสียชีวิต สถาบันการเงิน(ผู้ให้กู้) แจ้งกรมบัญชีกลาง • ทำหนังสือพร้อมแนบหลักฐานแสดงจำนวนหนี้ค้างชำระ • ส่งข้อมูลผ่านระบบบำเหน็จค้ำประกัน กรมบัญชีกลาง • สั่งจ่ายบำเหน็จตกทอดเพื่อชำระหนี้ในส่วนที่เหลือตามสัญญากู้เงิน และโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของสถาบันการเงิน(ผู้ให้กู้) • สั่งจ่ายบำเหน็จตกทอดคงเหลือให้แก่ผู้มีสิทธิรับเงินตามกฎหมาย และโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารให้แก่ผู้มีสิทธิรับเงิน
ผู้รับบำนาญถูกบังคับคดี(พิทักษ์ทรัพย์)ผู้รับบำนาญถูกบังคับคดี(พิทักษ์ทรัพย์) ผู้รับบำนาญ • อยู่ในระหว่างพิทักษ์ทรัพย์ จากกรมบังคับคดี • อยู่ในระหว่างดำเนินการทางวินัย (คดียังไม่สิ้นสุด/ ยังขอรับบำเหน็จดำรงชีพไม่ได้) ไม่สามารถ ยื่นเรื่องขอรับหนังสือรับรองบำเหน็จตกทอด เพื่อค้ำประกันการกู้เงินกับสถาบันการเงินได้
บำเหน็จค้ำประกัน ในส่วนของสถาบันการเงิน
ผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบบำเหน็จค้ำประกันผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบบำเหน็จค้ำประกัน กรมบัญชีกลางกำหนด รหัสผ่าน ชุดที่ 1 ลงทะเบียนรับหนังสือ-นำข้อมูลเข้า-ออก ระดับหัวหน้า เข้าดูข้อมูลในระบบ ลงทะเบียนรับหนังสือรับรอง นำข้อมูลผู้รับบำนาญออกจากระบบ บันทึกข้อมูลอนุมัติการกู้เงิน ยืนยันการนำข้อมูลที่บันทึกเข้าระบบแก้ไขข้อมูลหลังการยืนยันข้อมูลload และใช้web service เพื่อนำข้อมูลอนุมัติการกู้เงินเข้าระบบ ระดับผู้ปฏิบัติ • เขาดูข้อมูลในระบบ • ลงทะเบียนรับหนังสือรับรอง • นำข้อมูลผู้รับบำนาญออกจากระบบ • บันทึกข้อมูลอนุมัติการกู้เงิน • แก้ไขข้อมูลก่อนการยืนยันของหัวหน้า • load และใช้ web service เพื่อนำข้อมูลอนุมัติการกู้เงินเข้าระบบ
การแก้ไขข้อมูลของธนาคารการแก้ไขข้อมูลของธนาคาร • หัวหน้างานสามารถทำการแก้ไขข้อมูลได้ตลอดเวลา จนกว่าจะทำการคัดลอกข้อมูล (แม้จะทำการยืนยันข้อมูลแล้ว ก็ตาม) • กรณีจำเป็นต้องแก้ไขข้อมูลหลังจากทำการคัดลอกข้อมูลแล้ว ให้ทำหนังสือแจ้งกรมบัญชีกลาง (สำนักบริหารการรับ –จ่ายเงินภาครัฐ) เพื่อแจ้งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ดำเนินการต่อไป
ผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบบำเหน็จค้ำประกันผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบบำเหน็จค้ำประกัน กรมบัญชีกลางกำหนด รหัสผ่าน ชุดที่ 2 การทำข้อมูลหนี้ และขอรับบำเหน็จตกทอด ระดับหัวหน้า เข้าดูข้อมูลในระบบ บันทึกข้อมูลหนี้ บันทึกข้อมูลขอบำเหน็จตกทอดกรณีผู้กู้ ผิดนัดและเสียชีวิต ส่งข้อมูลให้กรมบัญชีกลาง แก้ไขข้อมูลที่ส่งให้กรมบัญชีกลางได้หากยังไม่สิ้นสุดวันที่ให้ส่งข้อมูล นำข้อมูลเงินที่ได้รับจากกรมบัญชีกลางจ่ายออกจากระบบ ใช้ระบบ load และใช้ web service เพื่อนำข้อมูลเข้าและออก ระดับผู้ปฏิบัติ • เข้าดูข้อมูลในระบบ • บันทึกข้อมูลหนี้ • บันทึกข้อมูลขอบำเหน็จตกทอดกรณีผู้กู้ ผิดนัดและเสียชีวิต • แก้ไขข้อมูลก่อนส่งกรมบัญชีกลาง • นำข้อมูลเงินที่ได้รับจากกรมบัญชีกลางจ่ายออกจากระบบ • ใช้ระบบ load และใช้ web serviceเพื่อนำข้อมูลเข้าและออก
การ load ข้อมูลของธนาคาร การ load ข้อมูลของธนาคาร หมายถึง ได้ผ่านกระบวนการ ของผู้มีอำนาจมาแล้ว
การลงทะเบียนรับหนังสือรับรองการลงทะเบียนรับหนังสือรับรอง • ธนาคารลงทะเบียนรับหนังสือรับรองไว้แล้วระบบจะ lock ไม่ให้ธนาคารอื่นลงทะเบียนรับหนังสือรับรองได้อีก • ธนาคารอื่นไม่สามารถใช้รหัสหนังสือรับรองและ id ของผู้รับบำนาญ เข้าดูข้อมูลของผู้รับบำนาญได้ ยกเว้น สาขาของธนาคารนั้น • ระบบจะ lock จำนวนค้ำประกันไม่เกินบำเหน็จตกทอดคงเหลือ เมื่อธนาคารนำข้อมูลอนุมัติเงินกู้เข้าระบบบำเหน็จค้ำประกัน
การอนุมัติเงินกู้ การอนุมัติเงินกู้ต้องไม่เกินจำนวนเงินในหนังสือรับรอง หรือในระบบบำเหน็จ ค้ำประกัน online real time (เลือกจำนวนที่ต่ำกว่า) • จำนวนเงินในหนังสือรับรอง เท่ากับ จำนวนเงินในระบบบำเหน็จค้ำประกัน • จำนวนเงินในหนังสือรับรองสูงกว่าจำนวนเงินในระบบบำเหน็จค้ำประกัน • จำนวนเงินในหนังสือรับรองต่ำกว่าจำนวนเงินในระบบบำเหน็จค้ำประกัน
คู่มือบำเหน็จตกทอด • สามารถค้นหาได้จาก www. Cgd.go.th. ในระบบงานบำเหน็จบำนาญ ( จำนวน 289 หน้า ) • เอกสาร หลักฐานที่ต้องใช้สำหรับการขอรับเงิน วิธีการใช้ระบบบำเหน็จบำนาญ ผู้มีสิทธิเข้าใช้ระบบงาน • เริ่มตั้งแต่ผู้มีสิทธิรับบำเหน็จตกทอด ส่วนราชการผู้ขอ /นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ / ส่วนราชการผู้เบิก / กรมบัญชีกลาง • ใครต้องทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด • สมบูรณ์แบบที่สุดเท่าที่เคยจัดทำมา จัดทำโดย สรจ.
กรมบัญชีกลาง โทร. 02 127 7000 สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ ต่อเบอร์ 4216 4250 4509 4295 6228 หรือ 6401 กลุ่มกำหนดสิทธิ์ ผู้กำหนด Id - Password ต่อเบอร์ 4249 4296 หรือ 4507 กลุ่มบริหารการจ่ายเงิน ต่อเบอร์ 4206 4617 4618 Call Center โทร. 02 270 6400 - 3
สำนักงานคลังจังหวัดตราดโทร 039-512429http://klang.cgd.go.th/trt/
ขั้นตอนการขอหนังสือรับรองบำเหน็จค้ำประกันขั้นตอนการขอหนังสือรับรองบำเหน็จค้ำประกัน ขั้นตอนที่ 1ผู้รับบำนาญกรอกข้อมูลในแบบคำร้องขอรับหนังสือรับรองสิทธิบำเหน็จตกทอด ขั้นตอนที่ 2 สำหรับส่วนราชการผู้เบิกที่รับคำร้อง • ส่วนราชการผู้เบิกระดับผู้ปฏิบัติงาน ตรวจสอบ 1. แบบคำร้อง 2. ข้อมูลในระบบบำเหน็จค้ำประกัน • เสนอส่วนราชการผู้เบิกระดับหัวหน้า เพื่อส่งข้อมูลให้ กรมบัญชีกลางผ่านระบบ บำเหน็จค้ำประกัน
ขั้นตอนการเข้าระบบงานขั้นตอนการเข้าระบบงาน คลิก บำเหน็จบำนาญ/บำเหน็จค้ำประกัน