1 / 68

โดย นายทรงศัก สายเชื้อ อัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ 16 พฤศจิกายน 2554

การบรรยายเรื่อง เปิดประตูสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. โดย นายทรงศัก สายเชื้อ อัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ 16 พฤศจิกายน 2554. สภาพปัจจุบันในบริบทโลก. Key Global and Regional Trends.

nodin
Download Presentation

โดย นายทรงศัก สายเชื้อ อัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ 16 พฤศจิกายน 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายเรื่อง เปิดประตูสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต โดย นายทรงศัก สายเชื้อ อัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ 16 พฤศจิกายน 2554

  2. สภาพปัจจุบันในบริบทโลกสภาพปัจจุบันในบริบทโลก

  3. Key Global and Regional Trends • New Geopolitics / Changing International Landscape • ความซับซ้อน (Complexity) ของระบบระหว่างประเทศ • ผู้เล่นใหม่ • ประเทศกำลังพัฒนา-ประเทศพัฒนาแล้ว • Global Agenda • Unknown/uncertainty: hedging strategy, risk management, black swan strategy

  4. Global Governance /Complex International System / World Order Regional Grouping Association of States States & Multi-polar World Global Capitalism And Market Global Governance New Actors, rating agencies, global media, auditors, Individuals Global Civil Society Transnational Cooperation / Business & Private Sectors Virtual Societies / Networking

  5. Significant Increasing Roles of Developing World/ New Players • G2 (USA-China) • G20superseeding G7/G8? • BRIC or BICI or BRICI • Goldman Sach’s next 11 (Bangladesh, Egypt, Indonesia, Iran, South Korea, Mexico, Nigeria, Pakistan, the Philippines and Vietnam) • Petrodollars Powers • South-South Cooperation/ Traditional North-South Relations fading away • IBSA, SCO (Shanghai Cooperation Organization) • EAS: the most important political forum?

  6. The Global Economic System / Doctrines • Washington ConsensusV.S. Beijing Consensus • or combination of many different economic principles • Potential Emerging new consensus • Shift of economic weights • A complex and multiple layers: multilateral trading system, regional integration, FTAs • The third international currency • Rebalancing • Emerging Asian Monetary System?

  7. Changing Strategic Landscape in Asia/SE Asia Politico-Strategy Balance of Power/ Balance of Influence : US, China, India, Japan, Russia ASEAN Role Collective Security Military Modernization Sub-Groups / Sub-regional ASEAN Community/ ASEAN+3 Quest for regional architecture

  8. Changing Strategic Landscape in Asia/SE Asia Regional Globalized Economies China-led regional network Asia : From Global Factories to consumers Rising Chinese currency Competitive co-orporation Product safety/ standard/ IP Connectivity Rising capital market/ SWF

  9. Asia Economic and Trade Arrangements • AFTA / AEC • A+3 • EAS • APEC: FTAAP • CJK FTA • 42 FTAs: ASEAN, China, Japan, Korea, Australia, New Zealand (Bilateral, ASEAN FTAs) • TPP

  10. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน

  11. ASEAN Factsheet • อาเซียนถือกำเนิดที่ประเทศไทย ในปี 1967 โดยสมาชิกผู้ก่อตั้ง • ไทย • มาเลเซีย • อินโดนีเซีย • ฟิลิปปินส์ • สิงคโปร์ สมาชิกเพิ่มเติม + บรูไน ดารุสซาลาม ปี 1984 + เวียดนาม ปี 1995 + ลาว ปี 1997 + พม่า ปี 1997 + กัมพูชา ปี 1999 ประชากร – 600.15 ล้านคน พื้นที่- 4.5 ล้าน ตาราง กม. GDP รวม 1540 พันล้านเหรียญสหรัฐ การค้ารวม 1800 พันล้านเหรียญสหรัฐ การลงทุนจากต่างประเทศ 39,623 ล้านเหรียญสหรัฐ

  12. จุดเริ่มต้นของอาเซียนจุดเริ่มต้นของอาเซียน เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 รมว.กต. อินโดนีเซีย (นายอาดัม มาลิก) มาเลเซีย (ตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซน) ฟิลิปปินส์ (นายนาซิโซ รามอส) สิงคโปร์ (นายเอส ราชารัตนัม) และไทย (พันเอก ถนัด คอมันตร์ ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration)

  13. ความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียนความหมายของตราสัญลักษณ์อาเซียน สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง สีขาว ความบริสุทธิ์ รวงข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ วันอาเซียน8 สิงหาคม

  14. วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ

  15. หลักการพื้นฐานของอาเซียนหลักการพื้นฐานของอาเซียน การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและกัน (Non-interference) การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน (Prosperity)

  16. ความสำคัญของอาเซียนต่อไทยความสำคัญของอาเซียนต่อไทย • เป็นกลไกสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ รักษาสันติภาพและเสถียรภาพในภูมิภาค เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของไทย • เป็นคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทย มีมูลค่าการค้าระหว่างกัน 59,250 ล้าน USD คิดเป็นร้อยละ 21.3 ของมูลค่าการค้าทั้งหมดของไทยและไทยได้เปรียบดุลการค้าถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ • สมาชิกอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 669.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ข้อมูลปี 2552) • นักท่องเที่ยว 4 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 28.6 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมด

  17. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

  18. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) • ลงนาม Bali Concord IIปี 2003 ระบุการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยมีแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programme 2004-2010) • 3 เสาหลัก - ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง (ASEAN Political-Security Community: APSC) - ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community: AEC) - ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) • การประชุมสุดยอดฯ ครั้งที่ 12 ที่เซบู เร่งรัดการจัดตั้งประชาคมให้เร็วขึ้นจากปี 2563 เป็น 2558 กฎบัตรอาเซียน ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550 เพื่อเป็นธรรมนูญของอาเซียนและมีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 15 ธ.ค. 2551 • มีกฎกติกาในการทำงาน • มีประสิทธิภาพมากขึ้น • มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง

  19. โครงสร้างอาเซียนใหม่ภายใต้กฎบัตรอาเซียนโครงสร้างอาเซียนใหม่ภายใต้กฎบัตรอาเซียน

  20. โครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียนโครงสร้างอาเซียนภายใต้กฎบัตรอาเซียน การประชุมสุดยอดอาเซียน คณะมนตรีประสานงานอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะมนตรี ประชาคมการเมืองและความมั่นคง คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น การประชุมรัฐมนตรีกลาโหม (ADMM) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียน เฉพาะสาขา เช่น ที่ประชุมรัฐมนตรีด้านการคลังอาเซียน (AFMM) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา เช่น ที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสวัสดิการสังคมและการพัฒนา (AMMSWD) ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน(Connectivity)

  21. ประชาคมการเมือง ความมั่นคง(ASEAN Political-Security Community: APSC)

  22. ประชาคมการเมือง ความมั่นคง ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง อยู่ร่วมกันโดยสันติ แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธี สร้างกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ด้านประชาธิปไตย สิทธิ มนุษยชน ความรับผิดชอบร่วมกันในการสร้างความมั่นคงที่ครอบคลุม รอบด้าน เช่น โรคระบาด ภัยพิบัติธรรมชาติ มีปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอก

  23. สนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือในสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia– TAC) ZOPFAN

  24. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)

  25. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมประชาคมสังคมและวัฒนธรรม สร้างความพร้อมของอาเซียนเพื่อรับมือกับความท้าทายทางสังคมที่เพิ่มขึ้น อาทิ ปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ ยาเสพติด ภัยพิบัติทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม โรคระบาดและโรคติดต่อร้ายแรง การศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สร้างสังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน(One Caring and Sharing Community) ประเด็นข้ามชาติ : การทำให้อาเซียนเป็นเขตปลอดยาเสพติดภายในปี 2558 / การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของประชากร /ปัญหามลพิษหมอกควัน / ปัญหาไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่

  26. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community: AEC)

  27. เป้าหมายของ AEC 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี ปี 2015 สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 30

  28. ข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าบริการ ภายในปี 2558 เปิดเสรีการค้าบริการเพิ่มเติมจาก 65 สาขาย่อย เป็น 128 สาขาย่อย 12 สาขาใหญ่ โดยการยกเลิกอุปสรรคในการให้บริการทุกรูปแบบและเปิดให้นักลงทุนอาเซียนถือหุ้นได้อย่างน้อยร้อยละ 70 สาขาบริการ 12 สาขาใหญ่ได้แก่ บริการธุรกิจ บริการทางการศึกษา บริการสุขภาพ บริการขนส่ง บริการด้านนันทนาการ บริการก่อสร้างและวิศวกรรม บริการสื่อสาร บริการสิ่งแวดล้อม บริการด้านการท่องเที่ยว บริการทางการเงิน บริการจัดจำหน่าย และบริการอื่นๆ

  29. • สาขาบริการเร่งรัด (Priority Integration Sector: PIS) 4 สาขา e – ASEAN (สาขาโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์) สุขภาพ ท่องเที่ยวและขนส่งทางอากาศ > ปี 2553 ต้องอนุญาตให้ผู้ให้บริการมีสัดส่วนการถือหุ้นของ นักลงทุนอาเซียนไม่ต่ำกว่า 70% และยกเลิกข้อจำกัดเข้าสู่ตลาดและข้อจำกัดในการปฏิบัติเยี่ยงคนชาติทั้งหมด • สาขาโลจิสติกส์

  30. • สาขาบริการอื่น (Non – Priority Services Sector)

  31. การเปิดเสรีการค้าบริการใน AFAS คือ การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด จำนวนผู้ให้บริการ มูลค่าการให้บริการ ปริมาณของบริการ จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ ประเภทของนิติบุคคล สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล Market access การเปิดตลาด ตัวอย่างข้อจำกัดต่อการปฏิบัติกับต่างชาติ กฎหมาย/มาตรการที่รัฐของประเทศภาคีมี การใช้บังคับ/ปฏิบัติกับผู้ให้บริการต่างชาติ แตกต่างกับผู้ให้บริการในชาติตน เช่น กฎหมายที่ดิน ข้อจำกัดด้านสัญชาติ ภาษี สัดส่วนเงินกู้ต่อทุน ทุนขั้นต่ำในการนำเงิน เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ เป็นต้น Mode 1 Cross Border National Treatment การให้การปฏิบัติ เยี่ยงคนชาติ Mode 2 Consumption Abroad Mode 3 Commercial Presence Mode 4 Movement of Natural Persons 40

  32. แนวทางการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือภายในภูมิภาคแนวทางการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือภายในภูมิภาค • แนวทางการส่งเสริมการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือภายในภูมิภาค 2 แนวทาง • การจัดตั้งกรอบทักษะฝีมือแรงงานระดับประเทศ • การจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRA) สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบริการ • เป้าหมายหลัก • บูรณาการมาตรฐานและระบบการให้การรับรองฝีมือแรงงานอาเชียนเข้าด้วยกัน • ดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อบรรลุมาตรฐานฝีมือและแนวปฏิบัติที่สอดประสานกัน • บรรลุการเป็นตลาดแรงงานอาเซียนที่มีฝืมือและคุณภาพเพื่อก้าวไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ค.ศ. 2015

  33. การจัดทำร่างข้อตกลง MRA(Mutual Recognition Arrangement) • เป็นพันธกรณีให้อาเซียนยอมรับร่วมกันในเรื่อง • คุณสมบัติแรงงานฝีมือ • ประวัติการศึกษา • ประสบการณ์การทำงาน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เพื่ออำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต

  34. การจัดทำร่างข้อตกลง MRA (ต่อ) • ข้อตกลง MRA ได้มีการลงนามจัดทำมาแล้วทั้งหมด 8 ฉบับ ได้แก่ • บริการด้านวิศวกรรม (ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2005) • บริการด้านพยาบาล (ลงนามในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2003) • บริการด้านสถาปัตยกรรม (ลงนามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007) • วิชาชีพสำรวจ (ลงนามในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2007) • วิชาชีพการท่องเที่ยว (ลงนามในเดือนมกราคม ค.ศ. 2009) • วิชาชีพแพทย์ (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) • วิชาชีพทันตแพทย์ (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009) • บริการด้านการบัญชี (ลงนามในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009)

  35. สาระสำคัญของ ACIA 45 45

  36. ความคาดหวังของไทยจาก AEC • สร้างความแข็งแกร่งในด้านอำนาจต่อรอง > นำไปสู่การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจการค้า • นำจุดแข็งของแต่ละประเทศมาเสริมกับจุดแข็งของไทย เพื่อประโยชน์ในการผลิต ส่งออก และบริการ • ช่วยส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวในด้านการค้าและการลงทุนของไทย • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทำให้ผู้ประกอบการไทยได้เริ่มปรับตัวและเตรียมความพร้อม • เสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการภายในประเทศ • ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน

  37. การส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity)

  38. การส่งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน (ASEAN Connectivity) • การสร้างให้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความสามารถในการแข่งขันมากขึ้น • ส่งเสริมให้ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ง่ายขึ้น • เป็นพื้นฐานสำหรับการสร้างความเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่น ๆ รวมทั้งเอเชียตะวันออก • มีทั้งการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม กฎระเบียบต่าง ๆ และการปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน

  39. แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • การเชื่อมโยงในภูมิภาคอาเซียนเป็นผลสืบเนื่องจากความริเริ่มของไทยในช่วงที่ไทยเป็นประธานอาเซียนเมื่อปี 2552 • ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 17 เมื่อวันที่ 28 ต.ค. 2553 ได้ให้การรับรองแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน • แผนแม่บทฯ ได้แนบตารางโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนเป็นอันดับต้นๆ (priority projects) ทั้งหมด 15 โครงการ • ความสำคัญของแผนนี้ คือเป็นการบูรณาการแผนเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมที่สำคัญหลายโครงการที่มีอยู่แล้วทั้งในกรอบอาเซียนและกรอบอนุภูมิภาคให้ปรากฏในแผนงานเดียว

More Related