390 likes | 601 Views
การประกันคุณภาพการศึกษาตามแนวทาง เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award). 13 พฤษภาคม 2552. รองศาสตราจารย์อุษณีย์ คำประกอบ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา. เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ. คืออะไร ทำไมต้องทำ ทำแล้วจะได้อะไร
E N D
การประกันคุณภาพการศึกษาตามแนวทาง เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ(Thailand Quality Award) 13 พฤษภาคม 2552 รองศาสตราจารย์อุษณีย์ คำประกอบ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ • คืออะไร • ทำไมต้องทำ • ทำแล้วจะได้อะไร • มีข้อแตกต่างจากระบบ QA เดิมอย่างไร
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ • TQA : Thailand Quality Award • เป็นเครื่องมือหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ในการจัดการการดำเนินการขององค์กรเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
Thailand Quality Award ทำไมต้องทำ • เพื่อปรับปรุงความสามารถในการบริหารจัดการทุกเรื่องภายในองค์กรที่จะส่งผลให้เกิดการปรับปรุงคุณภาพ • เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
Thailand Quality Award ทำแล้วจะได้อะไร • ทำให้การบริหารจัดการทุกเรื่องภายในองค์กรดีขึ้น ส่งผลต่อความยั่งยืนขององค์กร • เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการแบ่งปันประสบการณ์ในวิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นเลิศ
Thailand Quality Award มีข้อแตกต่างจากระบบ QA เดิมอย่างไร • ไม่เฉพาะเจาะจงวิธีการ จุดมุ่งเน้นอยู่ที่ผลลัพธ์ • ไม่ได้กำหนดวิธีการ สามารถปรับใช้ได้ เลือกเครื่องมือช่วยได้ตามบริบทขององค์กร • เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการบูรณาการ
Organizational Management System & Process System Management : Process Management : Slide อ.ศุภชัย เมืองรักษ์
พื้นฐานของเกณฑ์ (ค่านิยมหลักและแนวคิด) 1. การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ 2. ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นลูกค้า 3. การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล 4. การเห็นคุณค่าของพนักงานและคู่ค้า 5. ความคล่องตัว 6. การมุ่งเน้นอนาคต 7. การจัดการเพื่อนวัตกรรม 8. การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 9. ความรับผิดชอบต่อสังคม 10. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า 11. มุมมองในเชิงระบบ เป็นพฤติกรรมที่พบในองค์กรที่มีผลการดำเนินงานที่ดี
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ : มุมมองในเชิงระบบ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย กลุ่มผลลัพธ์ 2. การวางแผน เชิงกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ผู้ปฏิบัติงาน 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด ตัวขับเคลื่อน 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
โครงร่างองค์กร • คือ ภาพรวมขององค์กร เป็นสิ่งสำคัญที่มีผลต่อการดำเนินงานขององค์กร และความท้าทายที่องค์กรเผชิญอยู่ • เป็นจุดเริ่มต้นที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง • สามารถนำจุดอ่อนที่ตรวจพบ ไปวางแผนปฏิบัติการต่อไปได้
โครงร่างองค์กร (14 คำถาม) • ลักษณะองค์กร (9 คำถาม) • สภาพแวดล้อมองค์กร • ความสัมพันธ์ระดับองค์กร • ความท้าทายต่อองค์กร (5 คำถาม) • สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน • บริบทเชิงกลยุทธ์ • ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน
TQACriteria P. โครงร่างองค์กร P1. ลักษณะ องค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพแวดล้อมองค์กร ข. ความสัมพันธ์ ระดับองค์กร ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ข. บริบท เชิงกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 1 ผลิตภัณฑ์และบริการหลัก และกลไกในการส่งมอบให้ลูกค้า 2 ทิศทางองค์กร 2.1 วัฒนธรรม 2.2 จุดปรสงค์ 2.3 วิสัยทัศน์ 2.4 พันธกิจ 2.5 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ 5 การดำเนินการภายใต้ สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบ ข้อบังคับ 6 โครงสร้างองค์กรและระบบ ธรรมาภิบาล 7 กลุ่มลูกค้าและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและส่วนตลาดที่สำคัญ 8 ประเภทผู้ส่งมอบ คู่ค้า คู่ความร่วมมือและตัวแทนจำหน่ายที่สำคัญ 9 ความสัมพันธ์และกลไกการสื่อสารระหว่างกัน 10 สภาพการแข่งขัน 11 ปัจจัยหลักของความสำเร็จในการแข่งขัน 12 แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ • ด้านธุรกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 14 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ การประเมินผลและกระบวนการเรียนรู้
สภาพแวดล้อมองค์กร (5 คำถาม) • ผลิตภัณฑ์และบริการหลัก และกลไกในการส่งมอบให้ลูกค้า • ทิศทางองค์กร (วัฒนธรรม, จุดประสงค์, วิสัยทัศน์, พันธกิจ, ค่านิยม) • ลักษณะโดยรวมของบุคลากร • อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ • การดำเนินการภายใต้สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบ ข้อบังคับ
ความสัมพันธ์ระดับองค์กร (4 คำถาม) • โครงสร้างองค์กรและระบบธรรมาภิบาล • กลุ่มลูกค้า และกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และส่วนตลาดที่สำคัญ • ประเภทผู้ส่งมอบคู่ค้า คู่ความร่วมมือ และตัวแทนจำหน่ายที่สำคัญ (หลังบ้านข้างบ้านและหน้าบ้าน) • ความสัมพันธ์และกลไกในการสื่อสารระหว่างกัน
สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน (3 คำถาม) • สภาพการแข่งขัน • ปัจจัยหลักของความสำเร็จในการแข่งขัน • แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ Performance ของ Output หลัก
บริบทเชิงกลยุทธ์ (1 คำถาม) • ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ด้านธุรกิจ ด้านปฏิบัติการ ด้านบุคลากร SWOT Analysis
ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ (1 คำถาม) • ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ การประเมินผล และกระบวนการเรียนรู้
Value Chain (สายโซ่คุณค่า) SIPOC Model Supplier Process Customer Input Output ผู้ส่งมอบปัจจัยคือใคร ปัจจัยนำเข้าของกระบวนการคืออะไร กระบวนการที่เหมาะสมคืออย่างไร สินค้าหรือบริการคืออะไร ผู้รับสินค้าหรือบริการคือใคร ความต้องการคืออะไร
การให้คำปรึกษาของผู้ประเมินการให้คำปรึกษาของผู้ประเมิน • ตอบตรงตามเกณฑ์หรือไม่ • วิเคราะห์ความสอดคล้องในเบื้องต้น
หมวด 1 การนำองค์กร • มีวิสัยทัศน์ • มีการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน สื่อสารและถ่ายทอดให้นำไปปฏิบัติอย่างทั่วถึง • กำหนดระบบการติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กร • มีการกำกับดูแลตนเองที่ดี และเสริมสร้างจริยธรรมภายในองค์กร • สร้างจิตสำนึกขององค์กรให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน
หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ • กำหนดความท้าทายที่องค์กรเผชิญอยู่ • ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทำแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
หมวด 3 การมุ่งเน้นผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ต้องทราบว่าผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคือใคร • สามารถกำหนดและตอบสนองความต้องการ ความคาดหวัง และสร้างความพึงพอใจ • สร้างสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นระหว่างผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และองค์กร
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • มีระบบการวัด การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน และทั่วถึงทุกระดับ เพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงาน และสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร • มีระบบเทคโนโลยี และระบบการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล • จัดระบบงานที่มีประสิทธิภาพ • มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ • มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • สรรหา คัดเลือก พัฒนาองค์ความรู้ สร้างแรงจูงใจ เพื่อให้บุคลากรมีศักยภาพสูงสุด สามารถนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จได้
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ • ให้ความสำคัญกับการออกแบบกระบวนการให้สอดคล้องกับความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การปรับปรุงกระบวนการ เพื่อให้ผลการดำเนินการที่ดีขึ้น
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ • สะท้อนความสำเร็จขององค์กรในมุมมองด้านต่างๆ
QA และ TQA • ประเมินกระบวนการ • ประเมินผลลัพธ์
QA และ TQA (การประเมินกระบวนการ) • Plan (P) • Do (D) • Check (C) • Act (A) QA TQA • Approach (A) • Deployment (D) • Learning (L) • Integration (I)
QA และ TQA (การประเมินผลลัพธ์) • ผลลัพธ์ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด QA TQA • ความเชื่อมโยง (Linkages) • ระดับ (Level) • แนวโน้ม (Trends) • ตัวเปรียบเทียบ และระดับเทียบเคียง (Comparisons and Benchmarks)
QA และ TQA TQA เป็นการต่อยอดจากระบบ QA เดิมโดยใช้เกณฑ์ใหม่ ซึ่งเน้นความสอดคล้องและความเชื่อมโยงระหว่างเกณฑ์ในแต่ละหมวด
CMUQA และ TQA การนำองค์กร การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นนักศึกษา ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และตลาด การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ การมุ่งเน้นผู้ปฏิบัติงาน การจัดการกระบวนการ ผลลัพธ์ • ปรัชญา ปณิธาน แผนการดำเนินงาน • การเรียนการสอน • การพัฒนานักศึกษา • การวิจัย • การบริการวิชาการแก่สังคม • การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • การบริหารจัดการ • การเงินและงบประมาณ • ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 7 1 2 3 4 5 7 2 7 1-9
เนื้อหาของเกณฑ์ TQA What How เพื่อวิเคราะห์ตนเอง แล้วปรับปรุงให้ดีขึ้น พัฒนาอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ชัดเจน
หมวด 1 การนำองค์กร • ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการกำหนดวิสัยทัศน์และค่านิยม • ผู้นำระดับสูงดำเนินการอย่างไรในการสื่อสาร และสร้างความผูกพันกับบุคลากรทั่วทั้งองค์กร
หมวด 2 การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) • องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ขั้นตอนที่สำคัญของกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์มีอะไรบ้าง • วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคัญขององค์กรมีอะไรบ้าง
การดำเนินการที่เป็นระบบ (Systematic) ระบบ อธิบายได้ วัดผลได้ ทำซ้ำได้ และนำไปสู่ผลลัพธ์ การดำเนินการที่ดีเลิศตามบริบทขององค์กร ปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อความสำเร็จ ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ และเป็นกระบวนการต้องดำเนินการต่อเนื่อง ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ
แนวทางการตรวจประเมินสถาบัน/สำนักแนวทางการตรวจประเมินสถาบัน/สำนัก
แผนการอบรม TQA Module 1 Value chain, Strategic Planning Module 2 การวิเคราะห์เกณฑ์ในเชิงการจัดการ Module 3 การประเมินตนเองตามเกณฑ์ Module 4 Best Practice ขององค์กรที่เป็นตัวอย่าง Module 5 Tools สำหรับการบริหารจัดการ
Q & A ขอบคุณค่ะ ขอบคุณค่ะ Q & A