1 / 55

ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2554

. ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2554. คำนำ.

love
Download Presentation

ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1.  ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2554

  2. คำนำ กรมการปกครองได้ประกาศใช้ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง พ.ศ.2551 - 2554 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์และการบริหารงบประมาณของกรมการปกครอง ให้สามารถตอบสนองความต้องการของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งภารกิจของกรมการปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลังจากที่กรมการปกครองใช้ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง ประจำปี พ.ศ.2551 - 2554 ไปได้ระยะหนึ่งแล้ว มีความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองหลายครั้ง จนกระทั่งรัฐบาล (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 ประกอบด้วยนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก และนโยบายที่จะดำเนินการในระยะการบริหารราชการ 3 ปีของรัฐบาล อีก 7 ข้อ โดยมีจุดเน้นในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศและการสร้างความสมานฉันท์ให้กลับคืนสู่ประเทศไทยโดยเร็ว รวมทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ได้มอบนโยบายของกระทรวงมหาดไทยเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ.2552 ประกอบด้วยนโยบายเร่งด่วน 9 ประการ กรมการปกครองได้มีการทบทวนยุทธศาสตร์กรมการปกครอง พ.ศ.2551 - 2554 ขึ้นเพื่อปรับยุทธศาสตร์กรมการปกครองให้มีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กระทรวง และสภาวการณ์ปัจจุบันมากขึ้น โดยให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมจากบุคลากรของกรมการปกครองทุกระดับ ทั้งระดับผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการ จากส่วนกลางและส่วนภูมิภาค บัดนี้ ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง พ.ศ.2552 - 2554เสร็จสมบูรณ์แล้ว จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นกรอบทิศทางการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมการปกครองตลอดระยะเวลา 3 ปี ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของกรมการปกครอง คือ “เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข” และเพื่อบรรลุเป้าหมายของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย และประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนเป็นสำคัญ (นายวงศ์ศักดิ์ สวัสดิ์พาณิชย์) อธิบดีกรมการปกครอง มีนาคม 2552

  3. โครงสร้างกรมการปกครองโครงสร้างกรมการปกครอง

  4. โครงสร้างกรมการปกครอง ผชช. ด้านความมั่นคง วิทยาลัยการปกครอง อธิบดี ผชช. ด้านกฎหมาย สำนักงานผู้ตรวจราชการกรม รองอธิบดี สำนักการสอบสวนและนิติการ สำนักงานเลขานุการกรม กองตรวจสอบระบบบัญชี กองการเจ้าหน้าที่ สำนักกิจการความมั่นคงภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักบริหารการทะเบียน กองคลัง ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหาร และพัฒนางานปกครอง สำนักบริหารการปกครองท้องที่ กองการสื่อสาร สำนักยุทธศาสตร์และส่งเสริม การบริหารราชการอำเภอ สำนักอำนวยการกองอาสารักษาดินแดน ที่ทำการปกครองจังหวัด ปลัดจังหวัด (75) กลุ่มงานปกครอง จ่าจังหวัด กลุ่มงานความมั่นคง ป้องกันจังหวัด ฝ่ายการเงินและบัญชี เสมียนตราจังหวัด ที่ทำการปกครองอำเภอ นายอำเภอ (877) กลุ่มงาน/ฝ่ายบริหารงานปกครอง ปลัดอำเภอ ฝ่ายอำนวยความเป็นธรรม ปลัดอำเภอ ฝ่ายทะเบียนและบัตร ปลัดอำเภอ ฝ่ายความมั่นคง ปลัดอำเภอ งานการเงินและบัญชี เสมียนตราอำเภอ ที่มา : กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2545

  5. SWOTวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ประเด็นยุทธศาสตร์

  6. SWOT กรมการปกครอง จุดอ่อน จุดแข็ง • บุคลากรเป็นผู้บริหารสูงสุดในพื้นที่ • มีฐานข้อมูลกลางที่หน่วยงานต่างๆ จำเป็นต้องใช้ • มีวัฒนธรรมการทำงานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ • บุคลากรขาดขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน • ขาดงบประมาณสนับสนุนการทำงาน • ลักษณะของงานที่รับผิดชอบกว้างเกินไป ภัยคุกคาม โอกาส • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น รธน. พ.ร.บ.ระเบียบบริหารฯ • ปัญหาความไม่สงบเรียบร้อย • การยอมรับและเชื่อมั่นของรัฐบาล และส่วนราชการ • กระแสกระจายอำนาจให้ส่วนท้องถิ่น ทำให้ กรมการปกครองถูกลดภารกิจ • การถ่ายโอนภารกิจให้แก่ท้องถิ่น • การปฏิรูประบบราชการ 6

  7. แผนที่ยุทธศาสตร์กรมการปกครองแผนที่ยุทธศาสตร์กรมการปกครอง เป็นองค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ การปกครองระบอบประชาธิปไตย ในระดับฐานรากมีความเข้มแข็ง ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ การอำนวยความเป็นธรรม เป็นที่พึ่งของประชาชน สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัย และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข คุณภาพ การให้บริการ มีกลไกการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในฝ่ายพลเรือนมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีช่องทางในการยุติปัญหา ความเดือดร้อน ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย บุคลากร ระบบ สถานที่ สนองตอบความต้องการของประชาชน • พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาความมั่นคงภายฝ่ายพลเรือนในพื้นที่ จชต. • พัฒนาประสิทธิภาพการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง • พัฒนากระบวนการให้บริการ • พัฒนาสถานที่และภูมิทัศน์ในการให้บริการ • สนับสนุนการปฏิบัติของฝ่ายปกครอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาประสิทธิภาพศูนย์อำนวยความเป็นธรรม • สร้างอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย • ขยายเครือข่ายประชาธิปไตย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเสริมสร้างความเข้มแข็งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การพัฒนาการบริการ อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ กบอ.เป็นกลไกหลักในการการบูรณาการ ร่วมกับภาคีการพัฒนาในพื้นที่ การบริหารงบประมาณ ของอำเภอมีประสิทธิภาพ บุคลากรมีขวัญกำลังใจ บุคลากรมีสมรรถนะ ในการปฏิบัติหน้าที่ พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาคุณภาพ ชีวิตบุคลากร สนับสนุนทรัพยากร ทางการบริหาร ปรับโครงสร้าง อำเภอ พัฒนาบุคลากร ตามสมรรถนะ การพัฒนา องค์กร

  8. วิสัยทัศน์ :องค์กรสมรรถนะสูง มุ่งมั่นบูรณาการงานในพื้นที่ และเป็นที่พึ่งของประชาชน เพื่อสังคมสงบสุข พันธกิจ 1. อำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของนายอำเภอ 2. เสนอแนะนโยบายและจัดทำแผน มาตรการ ติดตาม และประเมินผลด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน 3. ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงภายใน งานการข่าว งานกิจการชายแดน งานควบคุมดูแลชาวเขาและชนกลุ่มน้อย ผู้อพยพและ ผู้หลบหนีเข้าเมือง งานสัญชาติ และงานกิจการมวลชน 4. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยกองอาสารักษาดินแดน 5. ดำเนินการพัฒนาบุคลากรในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน 6. ดำเนินการสื่อสารเพื่อการบริหารงาน การรักษาความสงบเรียบร้อย และความมั่นคงภายในประเทศ 7 ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อย สืบสวน สอบสวนคดีอาญาในหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครอง และอำนวยความเป็นธรรม ให้แก่ประชาชน 8. สนับสนุน ส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และการเลือกตั้งทุกระดับ 9. ดำเนินการพัฒนาและบริหารการปกครองท้องที่ในระดับอำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ 10. ดำเนินการและพัฒนาระบบงานทะเบียนราษฎร งานบัตรประจำตัวประชาชน และงานทะเบียนอื่น รวมทั้ง การบริหารจัดการฐานข้อมูลกลาง เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ค่านิยมองค์การ: นักปกครองที่เป็นที่รักของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการบริการงานอำเภอและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการอำนวย ความเป็นธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาการบริการ 1

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการบริการงานอำเภอและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ

  10. แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐ และบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ ภาคีการพัฒนามีความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของอำเภอ คุณภาพ การให้บริการ กบอ.เป็นกลไกหลัก ในการบูรณาการการทำงาน ร่วมกับภาคีการพัฒนาในพื้นที่ การบริหารงบประมาณ ของอำเภอมีประสิทธิภาพ บุคลากรมีสมรรถนะและ ทักษะความรู้ ในการปฏิบัติหน้าที่ บุคลากรมีขวัญและ กำลังใจในการปฏิบัติงาน ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ พัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะ สนับสนุนทรัพยากร ทางการบริหาร พัฒนาคุณภาพ ชีวิตบุคลากร พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนา องค์กร ปรับโครงสร้าง อำเภอ

  11. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการบริหารงานอำเภอและบูรณาการงานทุกภาคส่วนในพื้นที่  เป้าประสงค์ 1.4 การจัดระบบพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นไปอย่างเหมาะสมเสริมสร้างขวัญและแรงจูงใจของบุคลากรในการปฏิบัติงาน 1.5 บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรมและระบบการปฏิบัติงานมีความโปร่งใส รวมทั้งมีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง 1.3 ระบบงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีขีดความสามารถในการสนับสนุนการปฏิบัติราชการ 1.2 บุคลากรมีสมรรถนะและทักษะความรู้ที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่เกิดการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1.1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ  ตัวชี้วัด • ระดับความสำเร็จของการกำหนดกรอบอัตรากำลังข้าราชการที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจของกรมการปกครอง • ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากรกรมการปกครองในด้านคุณภาพชีวิตในการทำงาน • ร้อยละของบุคลากรที่ผ่านเกณฑ์สมรรถนะ • ร้อยละความพึงพอใจของภาคีการพัฒนาที่มีต่อระบบการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามทุจริต  เป้าหมาย 52 - 54 • ระดับ 5 • ร้อยละ 80 • ระดับ 5 • ร้อยละ 70 • ร้อยละ 95  กลยุทธ์ 1.3.1. กำหนดโครงสร้างและอัตรากำลังที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน 1.3.2. พัฒนาระบบการบรรจุและแต่งตั้งที่เหมาะสมและถูกต้องเป็นไปตามกรอบอัตรากำลัง 1.3.3. พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน 1.5.1. ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ 1.5.2. รณรงค์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากร 1.4.1. พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้สูงขึ้น 1.2.1. วิเคราะห์ ทบทวน และกำหนดสมรรถนะการปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ 1.2.2. พัฒนาข้าราชการตามสมรรถนะหลัก 1.1.1. พัฒนาทรัพยากรการบริหารและระบบสนเทศของอำเภอ 1.1.2. ส่งเสริมการพัฒนาโครงการของอำเภอและกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1. แผนงานส่งเสริมจิตสำนึกราชการใสสะอาดแก่บุคลากร - โครงการสร้างแกนนำเครือข่ายข้าราชการใสสะอาด 2. แผนงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของหน่วยงานและข้าราชการ 1. แผนงานพัฒนาระบบสวัสดิการและคุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการปกครอง - โครงการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ตรงกับความต้องการบุคลากร - โครงการเสริมสร้างคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. แผนงานปรับปรุงโครงสร้างอัตรากำลังให้มีความเหมาะสม 2. แผนงานระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการบริหารทรัพยากรบุคคล 1.แผนงานเสริมสร้างสมรรถนะบุคลากรเพื่อการขับเคลื่อนงานอำเภอ 2. แผนงานพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการบริหารงานของอำเภอ 3. แผนงานพัฒนาโครงสร้างของอำเภอ 4. แผนงานสนับสนุนการจัดแผนพัฒนาอำเภอ 1.แผนงานสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการ 2. แผนงานเสริมสร้างสมรรถนะข้าราชการตามที่กรมการปกครองกำหนด

  12. เป้าประสงค์ที่ 1.1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1.1.1 พัฒนาทรัพยากรการบริหารและระบบสารสนเทศของอำเภอ

  13. เป้าประสงค์ที่ 1.1 อำเภอเป็นศูนย์กลางการบริหารงานภาครัฐและบูรณาการงานทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 1.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างของอำเภอและกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ

  14. เป้าประสงค์ที่ 1.2 บุคลากรมีสมรรถนะและทักษะความรู้ที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่เกิดการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 1.2.1 วิเคราะห์ ทบทวน และกำหนดสมรรถนะการปฏิบัติงานในตำแหน่งต่างๆ

  15. เป้าประสงค์ที่ 1.2 บุคลากรมีสมรรถนะและทักษะความรู้ที่เหมาะสมต่อการปฏิบัติหน้าที่เกิดการเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 1.2.2 พัฒนาข้าราชการตามสมรรถนะหลัก

  16. เป้าประสงค์ที่ 1.3 ระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีขีดความสามารถในการสนับสนุนการปฏิบัติราชการ กลยุทธ์ที่ 1.3.1 กำหนดโครงสร้างและอัตรากำลังที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน

  17. เป้าประสงค์ที่ 1.3 ระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีขีดความสามารถในการสนับสนุนการปฏิบัติราชการ กลยุทธ์ที่ 1.3.2 พัฒนาระบบการบรรจุและแต่งตั้งที่เหมาะสมและถูกต้องเป็นไปตามกรอบอัตรากำลัง

  18. เป้าประสงค์ที่ 1.3 ระบบงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมการปกครองมีขีดความสามารถในการสนับสนุนการปฏิบัติราชการ กลยุทธ์ที่ 1.3.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคลให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

  19. เป้าประสงค์ที่ 1.4 การจัดระบบพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นไปอย่างเหมาะสมเสริมสร้างขวัญกำลังใจและแรงจูงใจของบุคลากรในการปฏิบัติงาน กลยุทธ์ที่ 1.4.1 พัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้สูงขึ้น

  20. เป้าประสงค์ที่ 1.5 บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม และระบบการปฏิบัติงานมีความโปร่งใส รวมทั้งมีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง กลยุทธ์ที่ 1.5.1 ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ

  21. เป้าประสงค์ที่ 1.5 บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม และระบบการปฏิบัติงานมีความโปร่งใส รวมทั้งมีการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างจริงจัง กลยุทธ์ที่ 1.5.2 รณรงค์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากร

  22. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

  23. แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การปกครองระบอบประชาธิปไตย ในระดับฐานรากมีความเข้มแข็ง ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย คุณภาพ การให้บริการ สร้างอาสาสมัครต้นแบบ ประชาธิปไตย ขยายเครือข่าย ประชาธิปไตย ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ พัฒนาองค์ความรู้ด้านการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การพัฒนา องค์กร

  24. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  เป้าประสงค์ 2.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานรากมีความเข้มแข็ง  ตัวชี้วัด • ร้อยละของหมู่บ้านที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านอย่างน้อยร้อยละ 65 ของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกทั้งหมด • ร้อยละของจำนวนผู้มีสิทธิไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ทั่วประเทศ • จำนวนหมู่บ้านที่มีระบบสร้างความเข้มแข็ง การปกครองระบอบประชาธิปไตย  เป้าหมาย 52 - 54 • ร้อยละ 75 • ร้อยละ 60 • 8,000 หมู่บ้าน  กลยุทธ์ 1. สร้างอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย และขยายเครือข่ายประชาธิปไตย 2. สนับสนุนกิจกรรมวิถีประชาธิปไตย 1.สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเลือกผู้นำท้องที่ 1.สนับสนุนการมีส่วนร่วม ทางการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส.  โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1. แผนงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งทั้งในระดับท้องที่และระดับชาติ - กิจกรรมประชาสัมพันธ์การเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้าน และ ส.ส. 2. แผนงานส่งเสริมความเข้มแข็งการปกครองระบอบประชาธิปไตย 1. แผนงานสร้างผู้นำ องค์กรต้นแบบ และขยายเครือข่ายประชาธิปไตย - โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย 2. แผนงานสร้างจิตสำนึกและส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีประชาธิปไตย - ส่งเสริมกิจกรรมวิถีประชาธิปไตยในหมู่บ้าน

  25. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 2.1.1 สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการเลือกผู้นำท้องที่

  26. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 2.1.2 สนับสนุนการมีส่วนร่วมทางการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส.

  27. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 2.1.3 สร้างอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตยและขยายเครือข่ายประชาธิปไตย

  28. เป้าประสงค์ที่ 2.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยระดับฐานราก มีความเข้มแข็ง กลยุทธ์ที่ 2.1.4 สนับสนุนกิจกรรมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย

  29. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม

  30. แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ ประชาชนมีช่องทางในการยุติปัญหาความเดือดร้อน คุณภาพ การให้บริการ สนับสนุนการปฏิบัติงานของ ฝ่ายปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาประสิทธิภาพ ศูนย์อำนวยความเป็นธรรม ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ยกระดับสมรรถนะบุคลากร และส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน การอำนวยความเป็นธรรม พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนงานด้านการอำนวย ความเป็นธรรม การพัฒนา องค์กร

  31. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการอำนวยความเป็นธรรม  เป้าประสงค์ 3.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน  ตัวชี้วัด • ร้อยละของปัญหาเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กรมการปกครองกำหนด • ระดับความสำเร็จของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทอำเภอ • ร้อยละของการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในกระบวนการยุติธรรมที่ได้ปฏิบัติตามขั้นตอนและระเบียบที่กฎหมายกำหนด  เป้าหมาย 52 - 54 • ร้อยละ 65 • ระดับ 3 • ร้อยละ 80  กลยุทธ์ 1.เสริมสร้างภาพลักษณ์ของกรมการปกครองด้านการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท 1. ส่งเสริมบทบาทของพนักงานฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรม 1.พัฒนาระบบการอำนวยความเป็นธรรมเชิงรุก  โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1. แผนงานพัฒนาประสิทธิภาพการอำนวยความเป็นธรรมเชิงรุก - โครงการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาททางแพ่งและอาญาในอำนาจหน้าที่ของนายอำเภอ - โครงการสนับสนุนการตรวจสอบข้อเท็จจริงและการสอบสวนคดีอาญา 1. แผนงานพัฒนาประสิทธิภาพการอำนวยความเป็นธรรมเชิงรุกโครงการเสริมสร้างเครือข่ายด้านการอำนวยความเป็นธรรมโครงการจัดทำกิจกรรมต้นแบบ (Best Practices) 1. แผนงานเสริมสร้างภาพลักษณ์ด้านการไกล่เกลี่ย และประนอมข้อพิพาท รวมถึงการขยายเครือข่ายการมีส่วนร่วม - โครงการเผยแพร่บทบาทการดำเนินงานของศูนย์อำนวยความเป็นธรรมอำเภอ

  32. เป้าประสงค์ที่ 3.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน กลยุทธ์ที่ 3.1.1 พัฒนาระบบการอำนวยความเป็นธรรมเชิงรุก

  33. เป้าประสงค์ที่ 3.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน กลยุทธ์ที่ 3.1.2 เสริมสร้างภาพลักษณ์ของกรมการปกครองด้านการไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท

  34. เป้าประสงค์ที่ 3.1 การอำนวยความเป็นธรรมเป็นที่พึ่งของประชาชน กลยุทธ์ที่ 3.1.3 ส่งเสริมบทบาทของพนักงานฝ่ายปกครองในกระบวนการยุติธรรม

  35. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย

  36. แผนที่ยุทธศาสตร์ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัย และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ คนเข้าเมืองโดยมิชอบด้วย กฎหมายไม่ก่อให้เกิดปัญหา และผลกระทบต่อสังคม หมู่บ้านชุมชนในพื้นที่ จชต. มีความเข้มแข็งปลอดภัย กองกำลังฝ่ายปกครองและ กลุ่มพลังมวลชน มีส่วนร่วมในการรักษา ความสงบเรียบร้อย สถานประกอบการ ปฏิบัติตามกฎหมาย คุณภาพ การให้บริการ บุคคลที่ไม่มีสถานะชัดเจน ได้รับการกำหนดสถานะ ตามสิทธิขั้นพื้นฐาน ประเทศมีความสัมพันธ์อันดี กับประเทศเพื่อนบ้านและ พื้นที่ชายแดน หมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง เอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพระบบ ควบคุมและการแก้ไขปัญหา คนเข้าเมืองโดยมิชอบ สร้างจิตสำนึกและ ให้ความรู้แก่ผู้ ประกอบการ สร้างความเข้มแข็งของ หมู่บ้านและเสริมสร้างการ อยู่ร่วมกันอย่างสันติใน จชต. สร้างแนวร่วมในการ รักษาความสงบเรียบร้อยและ แก้ไขปัญหายาเสพติด ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ สร้างความรู้ความเข้าใจ กับคนกลุ่มน้อยในพื้นที่ สร้างกระบวนการในการรักษา ความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง เร่งรัดการกำหนดสถานะ บุคคลให้เป็นไปตามเป้าหมาย สนับสนุนทรัพยากร ทางการบริหาร พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านการรักษาความสงบเรียบร้อย การพัฒนา องค์กร

  37. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย  เป้าประสงค์ 4.3 กองกำลังฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนมีสมรรถนะที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย 4.2 ประเทศมีความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้านในระดับพื้นที่ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย  ตัวชี้วัด • ระดับความสำเร็จของการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้านในระดับพื้นที่ • ร้อยละของหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ ผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปลอดภัย • ระดับความสำเร็จของการให้สถานประกอบการปฏิบัติตามกฎหมาย  เป้าหมาย 52 - 54 • ระดับ 5 • ร้อยละ 80 • ระดับ 5  กลยุทธ์ 1. สร้างกระบวนการในการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง 2. พัฒนาศักยภาพการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง 3. เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนและผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. เสริมสร้างความร่วมมือของกองกำลังฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย 1.เสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในพื้นที่จังหวัด/อำเภอชายแดน  โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1. แผนงานพัฒนาศักยภาพด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง 2. แผนงานส่งเสริมความรู้และสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนและผู้ประกอบการในการปฏิบัติตามกฎหมาย 3. แผนงานพัฒนาระบบการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง 1. แผนงานเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันกับประเทศเพื่อนบ้าน - โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน 1. แผนงานพัฒนาศักยภาพในการรักษาความสงบเรียบร้อยของกำลังฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชน - โครงการฝึกอบรมทบทวน ชรบ. - โครงการฝึกอบรม ผรส. 2. แผนงานเพิ่มขีดความสามารถในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย

  38. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย  เป้าประสงค์ 4.7 สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 4.5 ระบบควบคุมแก้ไขปัญหาคนเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมายมีประสิทธิภาพ 4.4 บุคคลที่ไม่มีสถานะที่ชัดเจนได้รับการกำหนดสถานะตามสิทธิขั้นพื้นฐาน 4.6 หมู่บ้าน/ชุมชนมีความเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืนและมีระบบป้องกันและปราบปรามผู้มีอิทธิพลที่มีประสิทธิภาพ  ตัวชี้วัด • ร้อยละของบุคคลที่ไม่มีสถานะที่ชัดเจนที่ได้รับการพิจารณาสภาพเพื่อกำหนดสถานะตามกฎหมาย • ร้อยละผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่(จังหวัด)มีความเข้าในนโยบายการแก้ไขปัญหาคนเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย • ร้อยละหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีผู้เสพ/ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติดไม่เกิน 3:1,000 คน(ยกเว้น กทม.) • ร้อยละของการชุมนุมโดยสงบในพื้นที่และไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงจนถึงขั้นต้องใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุม  เป้าหมาย 52 - 54 • ร้อยละ 82.5 • ร้อยละ 98 • ร้อยละ 80 • ร้อยละ 99.2  กลยุทธ์ 1. เร่งรัดการดำเนินการกำหนดสถานะบุคคลแก่ชนกลุ่มน้อยให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนกลุ่มน้อย 1. สร้างกระบวนการค้นหาผู้เสพ ผู้ค้าและผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการปฏิบัติงานด้านยาเสพติดร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประชาชนในพื้นที่ 1. สร้างความรู้ความเข้าใจในนโยบายการแก้ไขปัญหาคนเข้าเมืองให้กับเจ้าหน้าที่ 1. เสริมสร้างศักยภาพสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจ  โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม 1. แผนงานแก้ไขปัญหาคนต่างด้าว 1. แผนงานการพัฒนาการบริหารจัดการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของฝ่ายปกครอง 2. แผนงานเสริมสร้างความร่วมมือกับประชาชนในการปฏิบัติงานด้านยาเสพติด - โครงการจัดทำประชาคมเพื่อค้นหาผู้เสพ ผู้ค้าและผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 1. แผนงานพัฒนาระบบการกำหนดสถานะบุคคลแก่ชนกลุ่มน้อย 2. แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนกลุ่มน้อย 1. แผนงานเสริมสร้างศักยภาพสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน - โครงการทดสอบสมรรถภาพร่างกายของสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน - โครงการฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชา เจ้าหน้าที่และสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน

  39. เป้าประสงค์ที่ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4.1.1 สร้างกระบวนการในการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง

  40. เป้าประสงค์ที่ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4.1.2 พัฒนาศักยภาพการรักษาความสงบเรียบร้อยของฝ่ายปกครอง

  41. เป้าประสงค์ที่ 4.1 สถานประกอบการที่กรมการปกครองรับผิดชอบปฏิบัติตามกฎหมาย กลยุทธ์ที่ 4.1.3 เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนและผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายและศีลธรรมอันดี

  42. เป้าประสงค์ที่ 4.2 ประเทศมีความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้านในระดับพื้นที่ กลยุทธ์ที่ 4.2.1 เสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขในพื้นที่จังหวัด/อำเภอชายแดน

  43. เป้าประสงค์ที่ 4.3 กองกำลังฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนมีสมรรถนะที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย กลยุทธ์ที่ 4.3.1 เสริมสร้างความเข้มแข็งของหมู่บ้านในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

  44. เป้าประสงค์ที่ 4.3 กองกำลังฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนมีสมรรถนะที่เหมาะสมและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย กลยุทธ์ที่ 4.3.2 เสริมสร้างความร่วมมือของกองกำลังฝ่ายปกครองและกลุ่มพลังมวลชนในการดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย

  45. เป้าประสงค์ที่ 4.4 บุคคลที่ไม่มีสถานะที่ชัดเจนได้รับการกำหนดสถานะตามสิทธิขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ 4.4.1 เร่งรัดการดำเนินการกำหนดสถานะบุคคลแก่ชนกลุ่มน้อยให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด

  46. เป้าประสงค์ที่ 4.4 บุคคลที่ไม่มีสถานะที่ชัดเจนได้รับการกำหนดสถานะตามสิทธิขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ 4.4.2 พัฒนาคุณภาพชีวิตแก่คนกลุ่มน้อย

  47. เป้าประสงค์ที่ 4.5 ระบบควบคุมแก้ไขปัญหาคนเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมายมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น กลยุทธ์ที่ 4.5.1 สร้างความรู้ความเข้าใจในนโยบายการแก้ไขปัญหาคนเข้าเมืองให้กับเจ้าหน้าที่

  48. เป้าประสงค์ที่ 4.6 หมู่บ้าน/ชุมชนมีความเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืนและมีระบบป้องกันและปราบปรามผู้มีอิทธิพลที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 4.6.1 สร้างกระบวนการค้นหาผู้เสพ ผู้ค้า และผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการปฏิบัติงานด้านยาเสพติดร่วมกัน ระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐกับประชาชนในพื้นที่

  49. เป้าประสงค์ที่ 4.7 สังคมมีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข กลยุทธ์ที่ 4.7.1 เสริมสร้างศักยภาพสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจ

  50. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาการบริการ

More Related