1 / 20

สุชญา อัมราลิขิต สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 สิงหาคม 2554

รายละเอียดและแนวทาง ในการจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น และรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม. สุชญา อัมราลิขิต สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 สิงหาคม 2554.

phong
Download Presentation

สุชญา อัมราลิขิต สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 สิงหาคม 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายละเอียดและแนวทางในการจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม สุชญา อัมราลิขิต สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 สิงหาคม 2554

  2. การจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น  ตาม พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 • มาตรา 44 (3) • มาตรา 46 – มาตรา 51  ตามมติคณะรัฐมนตรี • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2554 • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2552

  3. การกำหนดมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา 44 (3) พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

  4. การดำเนินการด้านการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรา 46 – มาตรา 51 พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

  5. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมลงวันที่ 16 มิถุนายน 2552 กำหนด 34 ประเภทโครงการ

  6. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่อง กำหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสำหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน จะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 31 ส.ค. 2553 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 29 พ.ย. 2553 ซึ่งกำหนด 11 ประเภทโครงการ

  7. มติคณะรัฐมนตรี3 พฤศจิกายน 2552การทบทวนมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2543 เรื่อง ทะเบียนรายนามพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ (69 แห่ง) และระดับชาติของประเทศไทย (47 แห่ง) และมาตรการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำ

  8. มติคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 26 เมย. พ.ศ. 2554 เห็นชอบ เรื่อง การทบทวนประเภทและขนาดโครงการของหน่วยงานของรัฐที่ต้องเสนอรายงาน EIA ตามมติครม.เกี่ยวกับป่าอนุรักษ์เพิ่มเติม(13 กย. 2537)และกลไกการดำเนินงานด้าน EIAดังนี้ 1)โครงการ EIA จำนวน 5 โครงการ 2)โครงการที่ต้องจัดทำรายงาน IEE จำนวน ๘ โครงการ 3) โครงการที่ต้องจัดทำรายงานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมพร้อม มาตรการโดยเป็นโครงการทุกชนิดที่ไม่เข้าข่าย EIA และ IEE

  9. 4) กลไกการดำเนินงาน • โครงการEIA และ IEE ให้เสนอ คชก.โครงการของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องเป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นชอบ • โครงการที่ต้องจัดทำรายงานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมพร้อมมาตรการ เสนอกรมป่าไม้พิจารณา • แนวทางการจัดทำรายงาน EIA และ IEE ให้ทำตามประกาศ ทส.เรื่องกำหนดประเภทขนาด(ลงราชกิจจาวันที่31 สค 52) • *หน่วยงานเจ้าของโครงการต้องจัดส่งรายงาน monitor ให้ สผ.และกรมป่าไม้ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

  10. แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1.1 รายงานฉบับย่อ ต้องประกอบด้วยสาระสำคัญดังนี้ 1.1.1 ประเภทและขนาดโครงการ 1.1.2 ที่ตั้งโครงการ โดยมีภาพและแผนที่ที่ตั้งโครงการ 1.1.3 ทางเลือกที่ตั้งโครงการและวิธีการดำเนินการโครงการ 1.1.4 รายงานการแสดงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ 1.2 รายงานหลัก ต้องประกอบด้วยสาระสำคัญดังนี้ 1.2.1 บทนำ 1.2.2 ที่ตั้งโครงการ

  11. แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1.2.3 รายละเอียดโครงการ 1.2.4 สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน 1.2.5 การประเมินทางเลือกในการดำเนินการ และการประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการ 1.2.6 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการชดเชย 1.2.7 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1.2.8 ตารางสรุปผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญพร้อมด้วยมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบดังกล่าว

  12. แนวทางการจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นแนวทางการจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น 1.1 บทนำ 1.2 ที่ตั้งโครงการ 1.3 ทางเลือกที่ตั้งโครงการ 1.4 รายละเอียดโครงการ 1.5 สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน 1.6 ผลกระทบหลักที่อาจเกิดขึ้นจากโครงการ 1.7 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการชดเชย 1.8 มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1.9 ตารางสรุปผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญพร้อมด้วยมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบดังกล่าว

  13. ขั้นตอนการพิจารณา EIA/IEE ในพื้นที่คุ้มครอง ผู้ยื่นขอรับอนุญาต /ที่ปรึกษาจัดทำรายงานฯ ที่ได้รับมอบ รายงานไม่ถูกต้อง / ข้อมูลไม่ครบถ้วน เสนอรายงานต่อ สผ. เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจอนุญาตเลขานุการคชก.จังหวัด สผ. ตรวจสอบรายงาน (15 วัน) รายงานถูกต้อง / ข้อมูลครบถ้วน สามารถเสนอมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบที่ทำการแก้ไขเพิ่มเติม หรือจัดทำใหม่ ทั้งฉบับ โดยเสนอกลับเข้าสู่กระบวนการพิจารณาใหม่ตามมาตรา 48 และ 49 สผ. พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้น (15 วัน) เห็นชอบ สผ. คณะกรรมการผู้ชำนาญการฯจังหวัด พิจารณา (45 วัน) ผู้ยื่นขอรับ ไม่เห็นชอบ ผู้ยื่นขออนุญาต หน่วยงานซึ่งมีอำนาจอนุญาต เสนอรายงานฉบับแก้ไขต่อ ฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการผู้ชำนาญการฯ จังหวัดพิจารณา (30 วัน) เห็นชอบ สผ. ผู้ยื่นขอรับ หน่วยงานซึ่งมีอำนาจอนุญาต ไม่เห็นชอบ จบกระบวนการพิจารณารายงานฯ กรณีไม่เห็นด้วย กับความเห็น คชก. ที่ไม่เห็นชอบ ผู้ยื่นขออนุญาต มีสิทธินำคดีไปสู่ ศาลปกครองภายใน 90 วัน

  14. แนวทางการพิจารณา EIA 1.Identification ต้องตั้งคำถามว่า อะไรจะเกิดขึ้นเนื่องจากผลการดำเนิน โครงการซึ่งคาดการณ์มาจาก Preliminary Assessment และ Scooping การ Identify คือ * พิจารณา list of key impacts จาก Scoping *พิจารณาแหล่งกำเนิดของผลกระทบโดยใช้ checklists หรือquestioniars และพิจารณา Recepters ที่เป็นไป ได้ โดยการสำรวจสภาพความเป็นจริง * พิจารณาผลกระทบ โดยวิธีการ checklists, Matrix, networks,overlays Model และ Simulations

  15. 2. Field Survey การสำรวจควรประกอบด้วย • กำหนดแผนการอย่างละเอียดสำหรับเก็บตัวอย่าง • การจัดเตรียมการวิเคราะห์ในห้องทดลองให้พร้อม • ระบุวิธีการที่ใส่ในการเก็บตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง,การแปรผลการศึกษา รวมกับการวิเคราะห์ทางสถิติด้วย

  16. แผนการสำรวจ ควรประกอบด้วย • จุดหรือสถานที่เก็บตัวอย่าง • พารามิเตอร์ที่จะทำการวิเคราะห์ • กำหนดการเก็บตัวอย่างซึ่งรวมถึง ช่วงเวลาของวัน,ปี และความถี่ในการแก้ • วีการเก็บตัวอย่างที่ได้ • การจัดเก็บตัวอย่างที่เก็บได้ ก่อนนำไปทำการวิเคราะห์

  17. 3 Prediction การทำนายจะตอบคำถามว่า โครงการก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อสิ่งแวดล้อมหรือไม่ และผลกระทบคืออะไร โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ต่างๆ เช่น * Mathmatical Models * Photomantages * Physical Model * Socio – cultural Model * Economic Models * Experiment or Expert

  18. 4 Evaluation 4.3.1) การประเมินผลเพื่อตอบคำถามว่า สิ่งแวดล้อมเกิด การเปลี่ยนแปลง หรือไม่ และเพื่อพิจารณาว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้น มีความสำคัญเพียงพอ นำไปสู่มาตรการลดผลกระทบหรือไม่ 4.3.2 การตัดสินใจว่าผลกระทบมีความสำคัญอยู่บนพื้นฐาน ดังต่อไปนี้ * เปรียบเทียบกับกฎหมาย ระเบียบ และมาตรฐานที่ยอมรับ * ปรึกษากับผู้มีอำนาจตัดสินใจ * อ้างอิง เช่น protected sites, Species ฯลฯ * พิจารณาจากวัตถุประสงค์นโยบายของรัฐบาล * การยอมรับของ Local Communityหรือ General public

  19. 5 Mitigation ถ้าประเมินแล้ว พบว่า ผลกระทบมีความสำคัญ ต้องตอบคำถามว่า ควรป้องกัน หรือลดผลกระทบอย่างไร มาตรการลดผลกระทบที่เป็นไปได้ มีหลักการ * เปลี่ยนแปลง Sites, Routes, Process, Raw material, Operating,Method , disposal Routes or Location หรือ การออกแบบทางวิศวกรรม * เสนอค่าชดเชยในการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ถูกทำลาย ให้สัมปทานต่อรัฐ หรือค่าตอบแทนคุณภาพชีวิตของชุมชน

  20. คำถาม – คำตอบ Download เอกสาร www.onep.go.th/eia

More Related