820 likes | 1.01k Views
การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ นำเสนอที่ประชุม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมกิจตรงวิลล์ จังหวัดอุบลราชธานี. นายวัชรชัย ครองใจ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง. หัวข้อนำเสนอ. ระบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา การใช้ประโยชน์ระบบเฝ้าระวัง แนวทางการเผยแพร่ข้อมูล
E N D
การใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพการใช้ประโยชน์ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ นำเสนอที่ประชุม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมกิจตรงวิลล์ จังหวัดอุบลราชธานี นายวัชรชัย ครองใจ กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
หัวข้อนำเสนอ • ระบบการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา • การใช้ประโยชน์ระบบเฝ้าระวัง • แนวทางการเผยแพร่ข้อมูล • การพัฒนาระบบการเตือนภัย
การดำเนินงานกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR2005) ร่วมมือกับนานาชาติในการเฝ้าระวังและรายงานภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of International Concern, PHEIC) พัฒนาขีดความสามารถของประเทศ ๔ ด้าน ในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ด้านการเฝ้าระวังสอบสวนโรค ด้านการดูแลผู้ป่วยโรคติดต่ออันตราย ด้านห้องปฏิบัติการ ด้านช่องทางเข้าออกประเทศ 3
ข้อกำหนดกฎอนามัยระหว่างประเทศ ระดับท้องถิ่นและ/หรือระดับต้น (Local community level and/or Primary public health response level) ต้องพัฒนาสมรรถนะหลักในด้าน • การตรวจจับเหตุการณ์ (Detect events) การป่วย หรือตายที่ผิดปกติ • การรายงานข้อมูลที่สำคัญ (Notify) ได้แก่ ลักษณะทางคลินิก • ผลLAB แหล่งโรคชนิดความเสี่ยง จำนวนผู้ป่วยและผู้ตาย เงื่อนไขที่ทำให้ระบาดและมาตรการทางสาธารณสุขที่ดำเนินการ ข้อมูลส่วนใหญ่ได้จากการสอบสวนโรค • การควบคุมโรคขั้นต้นทันที (Initial control)
Event-based SurveillanceเสริมกับCase-based Surveillance ที่มา: มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติทีม SRRT 2552 สำนักระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังฯ 5 ระบบหลัก 16+ ระบบย่อย 1 ระบบร่วม การติดเชื้อ+พฤติกรรม(กลุ่มหญิงบริการ, เข้าถึงยาก) ระบบเฝ้าระวัง NCD พฤติกรรมเสี่ยงในนักเรียน พฤติกรรมที่สัมพันธ์การติดเชื้อ โรคติดต่อจากภัยธรรมชาติ TB (ร่วมกับ สปสช.) การติดเชื้อ (ความชุก,รายใหม่, ดื้อยา) ระบบเฝ้าระวัง โรคเอดส์ (รง.506/1) AEFI ระบบเฝ้าระวัง โรคติดต่อ (รง.506 + รง. เร่งด่วน) AFP รง. 19 สาเหตุ แม่สู่ลูก ต่างด้าวและศูนย์พักพิง ระบบเฝ้าระวังEnOcc (รง.506/2) ระบบเฝ้าระวัง การบาดเจ็บ (แบบ IS) รง. จมน้ำ ตกน้ำ EID : SARS พิษแมง กะพรุน เฝ้าระวังเหตุการณ์ (Events) EID : ไข้หวัดนก รง. ความรุนแรงภาคใต้ EID : ไข้หวัดใหญ่2009
วัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวังวัตถุประสงค์ของการเฝ้าระวัง • ติดตามดูแนวโน้มของโรคและภัยสุขภาพ • ตรวจจับการระบาดได้ • อธิบายข้อมูลทางระบาด และปัจจัยเสี่ยง • บอกแนวทางในการป้องกันควบคุมโรค
คุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังที่ดีคุณลักษณะของระบบเฝ้าระวังที่ดี • ได้ข้อมูลที่รวดเร็ว มีคนวิเคราะห์ติดตามตลอดเวลา • มีการสอบสวนเพื่อยืนยันความถูกต้อง และได้ข้อมูลเชิงลึก • ได้นำไปใช้ประโยชน์ • ใช้ทรัพยากรพอเพียง • ดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Epidemiological Surveillance) วิเคราะห์ ตรวจสอบ แปลผล บอก/เตือนผู้เกี่ยวข้อง • รวบรวมข้อมูล • ป่วย/ตาย • ห้องปฎิบัติการ • พฤติกรรม • ประชากร • ยา • ข่าวการระบาด • อื่นๆ • Action • สอบสวนรายละเอียด • สร้าง มาตรการแก้ปัญหา • พัฒนาการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังเหตุการณ์(Event-based surveillance) หมายถึง การรับแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติอย่างรวดเร็วโดยมีการจัดการที่เป็นระบบ เพื่อให้ได้ข่าวสารข้อมูลการเกิดโรคและภัยสุขภาพ จากแหล่งข่าวชนิดต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ และมีการตอบสนองที่รวดเร็ว ช่วยเสริมประสิทธิภาพการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติ (Case-based หรือ Indicator-based surveillance) เช่น รง. 506 ซึ่งเป็นระบบมาตรฐานและรับข้อมูลจากสถานพยาบาลและหน่วยงานต่างๆอย่างเป็นทางการ
คำถามที่น่าถาม ให้แจ้งข่าวหรือรายงานโรคไปเพื่ออะไร? 1 จะให้แจ้งโรค หรือ แจ้งกลุ่มอาการอะไรบ้าง? 2 เมื่อไหร่ถึงควรจะแจ้ง? 3 นอกจากการแจ้งข่าวแล้ว เขาควรทำอะไรอีก? 4 แล้วเราจะตอบสนองต่อข่าวที่ได้รับแจ้งอย่างไรดี? 5 11
คำถามที่ต้องตอบเมื่อรับข่าวคำถามที่ต้องตอบเมื่อรับข่าว เหตุการณ์ร้ายแรงหรือไม่ ข่าวเชื่อถือได้หรือไม่ แพร่ระบาดได้เร็วหรือไม่ เป็นประเด็นการเมืองหรือไม่ ปัญหาสุขภาพนี้ ผิดปกติหรือไม่ มีความกังวลในระดับนานาชาติหรือไม่ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจหรือไม่ ที่มา: Dr.Marjorie P. Pollack, ProMed Mail
การประเมินสถานการณ์เบื้องต้นการประเมินสถานการณ์เบื้องต้น ประเมินว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม่ เช่น ประเมินจากความน่าเชื่อถือของผู้แจ้งข่าว ตรวจสอบจากแหล่งข่าวอื่นๆมากกว่าหนึ่งแหล่ง เหตุการณ์ร้ายแรงหรือไม่ (เช่น มีโอกาสแพร่กระจายในวงกว้าง มีผู้มีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิต ไม่เคยพบมาก่อนในพื้นที่) ต้องรีบดำเนินการหรือไม่ และต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง โดยแยกเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ต้องดำเนินการ เหตุการณ์ที่แก้ไขเองได้ และเหตุการณ์ที่ต้องได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือ เช่นแจ้งเทศบาล สาธารณสุขอำเภอ
ประโยชน์ของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ประโยชน์ของการเฝ้าระวังเหตุการณ์ พบเหตุการณ์ผิดปกติ หรือการระบาดได้เร็วขึ้น ขณะที่ปัญหายังไม่ลุกลาม ข้อมูลข่าวสารที่ได้นำไปสู่การแก้ไขปัญหาโดยเร็ว มีฐานข้อมูลเหตุการณ์ผิดปกติเพื่อวางแผนในการป้องกันควบคุมโรค เสริมกับระบบรายงาน 506
International Health Regulation -2005 ใช้ตัดสินใจในการแจ้งในกรณีที่เกิด Public health event ในกรณี • ผลกระทบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมีอันตรายต่อสุขภาพรุนแรงหรือไม่ • เหตุการณ์นั้นเกิดโดยไม่คาดฝัน หรือผิดปกติหรือไม่ • เสี่ยงในการแพร่กระจายระหว่างประเทศหรือไม่ 4. มีผลต่อการจำกัดต่อการเดินทางหรือค้าขายหรือไม่
ธรรมชาติการเกิดโรค ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่สอ. หรือโรงพยาบาล ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชนไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล หรือผู้เป็นผู้ติดเชื้อ
ปัญหาการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติปัญหาการเฝ้าระวังโรคในระบบปกติ ตัวอย่างผู้ป่วย 5 รายในการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง รายที่ 2 รายที่ 1 รพ. รายที่ 3 รายที่ 5 รายที่ 4 รพ.เอกชน สำนักระบาดวิทยา ดัดแปลงจากDr.Marjorie P. Pollack, ProMed Mail
แหล่งข่าวชนิดต่างๆ บุคคลในชุมชน (Community) เช่น อสม อบต ครู อาสาสมัครปศุสัตว์ตำบล สื่อมวลชน (Media) ผู้ดำเนินรายการวิทยุชุมชน และแหล่งข้อมูลข่าวสารในอินเตอร์เนต บุคลากรทางแพทย์และสาธารณสุข (Health care workers) ทั้งภาครัฐและเอกชน
ประเภทของเหตุการณ์ผิดปกติประเภทของเหตุการณ์ผิดปกติ • เหตุการณ์การเกิดโรคในคน เช่น พบผู้ป่วยหลายคนพร้อมกัน หรือมีการตายผิดปกติไม่ทราบสาเหตุ 1.1 โรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อย 1.2 โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ • เหตุการณ์ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงอาจจะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน เช่น สัตว์ปีกป่วยตายผิดปกติ อาหารปนเปื้อน ระดับมลพิษในสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นรวดเร็ว
โรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อยโรคหรือกลุ่มอาการทั่วไปที่พบบ่อย • หมายถึง โรคประจำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่ประชาชนรู้จักดี และ • พบบ่อยในชุมชน ตัวอย่างเช่น • ไข้เลือดออก • อุจจาระร่วง ซึ่งอาจจะเกิดจากอาหารเป็นพิษ • โรคไข้หวัดใหญ่ ที่พบการระบาดตามฤดูกาล • โรคฉี่หนู (ซึ่งเป็นโรคประจำถิ่นในภาคอีสาน)
ตัวอย่างการระบาดของโรคอุจจาระร่วงตัวอย่างการระบาดของโรคอุจจาระร่วง
โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบในพื้นที่ • หมายถึง โรคใหม่หรือกลุ่มอาการที่ไม่เคยพบมาก่อนหรือไม่เป็นที่รู้จักในพื้นที่ • ตัวอย่างเช่น • ป่วยเสียชีวิตโดยไม่รู้สาเหตุ • โรคฉี่หนูที่เกิดขึ้นในพื้นที่ใหม่ครั้งแรก • โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) ในพื้นที่ใหม่ • โรคสัตว์สู่คน เช่น พิษสุนัขบ้า
ตัวอย่างการพบการระบาดของโรคชิคุนกุนยาตัวอย่างการพบการระบาดของโรคชิคุนกุนยา ชาวบ้านในหมู่บ้านชนบท มีอาการไข้ ปวดข้อ และออกผื่น พร้อมกันหลายคน ไปรับการรักษาที่สอ. คลินิกแพทย์ และซื้อยากินเอง
เหตุการณ์ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคนเหตุการณ์ที่อาจจะเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในคน • หมายถึง เหตุการณ์ที่ส่งอาจจะผลต่อการเกิดโรคในคน อาจจะเป็นสัตว์ป่วยตายผิดปกติ อาหารปนเปื้อน ระดับสารพิษในสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น • ไก่ตายจำนวนมากในหมู่บ้าน • ปลาตายลอยเป็นแพในคลอง • สารเคมีรั่วจากโรงงาน
ตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อมตัวอย่างเหตุการณ์ผิดปกติในสัตว์และสิ่งแวดล้อม
หัวใจของความสำเร็จระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์หัวใจของความสำเร็จระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ “ทุกเหตุรายงาน มีความหมาย ต้องตอบสนอง”
ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย (1) ส่วนใหญ่มีอาการอะไร ได้รับการวินิจฉัยว่าอย่างไร วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรกและรายสุดท้าย มีผู้ป่วยทั้งหมดกี่ราย และมีผู้เสียชีวิตหรือไม่ กี่ราย
ข้อมูลเกี่ยวกับการป่วย (2) เป็นเพศชาย เพศหญิงกี่ราย (อาจเป็นจำนวนโดยประมาณ) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มอายุไหน เกิดการระบาดที่ไหน มีความเกี่ยวข้องกันหรือไม่ (เช่น อยู่บ้านเดียวกัน ไปกินในงานเลี้ยงเดียวกัน) ยังมีแนวโน้มจะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอีกหรือไม่
การสอบสวนโรคเบื้องต้น (ถ้ามี) • สิ่งที่อาจเป็นปัจจัยเสี่ยง(ในกรณีที่มีข้อมูล) เช่น ไปกินงานเลี้ยงเดียวกัน หรือโดนหมาบ้ากัด เป็นต้น • การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม พบจำนวนเท่าไหร่ เป็นใครบ้าง • ผู้ที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน • ผู้ที่ทำงานด้วยกัน หรือถ้าเป็นเด็กนักเรียนก็เป็นเด็กที่อยู่ในกลุ่มที่เล่นใกล้ชิดกัน • เพื่อนบ้าน
การควบคุมโรคเบื้องต้นที่ทำไปแล้วการควบคุมโรคเบื้องต้นที่ทำไปแล้ว ได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง โดยหน่วยงานไหน ผลเป็นยังไง
การเฝ้าระวัง 2 ระบบ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพงาน • 1. การเฝ้าระวังโดยรายงานผู้ป่วย • 2. การเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่ สอ./รพ.สต. • เหตุการณ์ผิดปกติเกี่ยวกับสาธารณสุข รายคน รายเหตุการณ์ เก็บวิเคราะห์แปลผล แจ้งตรวจสอบรายงาน สัญญาณภัย ประเมิน และสอบสวน มีความสำคัญสาธารณสุข กระจายเผยแพร่ ควบคุมโรค ที่มา:สำนักระบาดวิทยาดัดแปลงจาก ECDC
เป้าหมายผลผลิตและผลงานเด่นปี 2553 กลุ่มระบาดวิทยา ระบบรายงานเฝ้าระวังโรค/ภัยสุขภาพ • การนำเสนอข้อมูลสถานการณ์โรคจากระบบรายงายงาน 506ด้วย GIS บน Website http://www.dpc7.net/http://epid.dpc7.net/ • ข่าวกรองโรคและภัยสุขภาพ จำนวน 7เรื่อง (เป้าหมาย6เรื่อง) • การแจ้งเตือนสถานการณ์โรค/ภัยสุขภาพสำหรับผู้บริหารด้วย ระบบSMS • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์นำเสนอสถานการณ์โรค/ภัยสุขภาพด้วยLCD
การพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ด้านระบาดวิทยาสคร.7 อุบลราชธานี เปิดตัวเป็นทางการงานระบาดวิทยาแห่งชาติ 22พ.ย.53 ณ จังหวัดระยอง
ที่มา… • ทำอย่างไรบุคลากรสาธารณสุขทุกระดับ ในเขต สคร. 7 อุบลราชธานี ที่เกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังโรคจะสามารถใช้ข้อมูลหรือสารสนเทศจากฐานข้อมูล R506 (Information Sharing) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ? • เงื่อนไข ? • ต้องสามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ ทุกเวลา(Easy To Access) • ต้องสามารถนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งในเชิงพื้นที่และแผนภูมิ(Easy To Use)
ที่มา…(ต่อ) • เงื่อนไข ? • ต้องไม่สร้างข้อมูลหรือสารสนเทศขึ้นมาใหม่(No Reproduce) • ต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม(Valid),ครบถ้วน(Complete) และเป็นปัจจุบัน(Up to date)
การเผยแพร่ข้อมูลระบบเฝ้าระวังของ สคร.7 http://epid.dpc7.net
การเผยแพร่ข้อมูลระบบเฝ้าระวังของ สคร.7 http://epid.dpc7.net
ข้อมูลรายโรค ย้อนหลัง 5 ปี จำแนกรายโรค ย้อนหลัง 5 ปี ส่งออกข้อมูล เขตตรวจราชการ แสดงข้อมูล
การจำแนกข้อมูล การจำแนกข้อมูล
ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงข้อมูลและสารสนเทศรายโรค แยกตามพื้นที่พร้อมแผนภูมิจำนวนผู้ป่วยรายจังหวัด
ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงข้อมูลและสารสนเทศรายโรค แยกตามพื้นที่พร้อมแผนภูมิจำนวนผู้ป่วยรายเดือน ของปี พ.ศ.ปัจจุบันเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปี
ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงข้อมูลและสารสนเทศรายโรค แยกตามพื้นที่พร้อมแผนภูมิจำนวนผู้ป่วยตามกลุ่มอายุ
ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงการส่งออกข้อมูล (Export)ในรูปเชิงพื้นที่ทางภูมิสาสตร์
ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงการส่งออกข้อมูล (Export)ในรูปแผนภูมิแท่ง
ตัวอย่างการนำเสนอข้อมูลด้านระบาดวิทยาด้วยระบบ GIS. แสดงการส่งออกข้อมูล(Export)ในรูปตาราง
สิ่งที่จะทำในปี 2554 • การพัฒนาระบบการตรวจสอบข้อมูล R506 จากจังหวัดก่อนนำเข้าระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์(GIS.) • การพัฒนาระบบเตือนภัยโรคที่ต้องเฝ้าระวัง จากฐานข้อมูล R506 และ Event-based Surveillance • การพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาจากฐานข้อมูล R506
ระบบแจ้งข่าวและตอบกลับกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรองระบบแจ้งข่าวและตอบกลับกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง http://epid.dpc7.net/outbreak/