1 / 73

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549. การใช้บังคับ. การใช้บังคับ. กำหนดให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2549 เป็นต้นไป (ข้อ 2) ให้ใช้ในการจัดหาพัสดุของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ (ข้อ 4)

Download Presentation

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549

  2. การใช้บังคับ การใช้บังคับ • กำหนดให้เริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2549เป็นต้นไป (ข้อ 2) • ให้ใช้ในการจัดหาพัสดุของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ (ข้อ 4) • ใช้สำหรับการจัดหาพัสดุที่มีมูลค่าตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไปเว้นแต่ จะได้รับอนุมัติจาก กวพ.อ. ให้จัดหาด้วยวิธีอื่นได้

  3. ยกเว้น ไม่ใช้บังคับกับการจัดหาพัสดุในเรื่อง 1. การจ้างที่ปรึกษา 2. การจ้างออกแบบและควบคุมงาน 3. การซื้อ/จ้างโดยวิธีพิเศษ, วิธีกรณีพิเศษ การใช้บังคับ • สำหรับการจัดหาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้อยู่ในอำนาจของกระทรวงมหาดไทยพิจารณาดำเนินการ (ข้อ 4 วรรคสอง)

  4. มติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 23 พฤษภาคม , 4 กรกฎาคม 2549 16 ตุลาคม 2550 และ 21 ตุลาคม 2551 ผ่อนผันการไม่จัดหาตามระเบียบฯ พ.ศ. 2549 ได้ถึง 30 กันยายน 2552 1) ส่วนราชการฯ วงเงินจัดหาพัสดุ 2-5 ล้านบาท 2) รัฐวิสาหกิจ วงเงินจัดหาพัสดุไม่เกิน 10 ล้านบาท • ให้แสดงเหตุผล ความจำเป็น ปัญหาอุปสรรค ที่ไม่อาจซื้อ/จ้าง ตามระเบียบฯ ปี 2549 ได้ แนบไว้ในรายงานขอซื้อ/จ้าง • ให้ซื้อ/จ้าง ตามระเบียบฯ ปี 2535 หรือระเบียบฯ ของหน่วยงานนั้น ๆ (หนังสือเวียน - กวพอ. ด่วนที่สุด ที่ กค 0408.3/ว 302 ลว. 21 ก.ค.49 - กวพอ. ด่วนที่สุด ที่ กค 0408.3/ว 52 ลว. 8 ก.พ.51) - ครม. ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/ว 333 ลว. 27 ต.ค.51)

  5. มติคณะรัฐมนตรี 21 ตุลาคม 2551 ผ่อนผันการจัดหาโดยวิธีอื่นโดยไม่ต้องขออนุมัติต่อ กวพ.อ. วงเงินไม่เกิน 10 ล้านบาท ถ้าได้มีการประกวดราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ไป แล้ว แต่:- 1. ไม่มีผู้เข้าเสนอราคา 2. มีผู้มีสิทธิเสนอราคารายเดียว 3. มีผู้มีสิทธิเสนอราคาหลายราย แต่มาเสนอราคาเพียงรายเดียว และคณะกรรมการประกวดราคา ต่อรองราคารายนั้นแล้วไม่ได้ผล ให้จัดหาโดยวิธีอื่นได้โดยไม่ต้องขอผ่อนผัน กวพ.อ. อีก

  6. ความหมาย : การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ การจัดหาพัสดุตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และฉบับที่ แก้ไขเพิ่มเติม ด้วยวิธีการซื้อหรือการจ้าง • แต่ไม่รวมถึง • การจ้างที่ปรึกษา • การจ้างออกแบบและคุมงาน • การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีพิเศษ • การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ โดยกำหนดให้ผู้เสนอราคาได้เสนอราคาแข่งขันกันเองด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิดเผยตัวเลขที่มีการเสนอราคา (Sealed Bid Auction) ภายในระยะเวลา และ ณ สถานที่ที่กำหนด

  7. ราคากลาง (ใช้กับงานก่อสร้าง) วงเงินงบประมาณที่มีอยู่ (ใช้กับงานซื้อ/จ้าง อื่นๆ) ราคาสูงสุดที่ทางราชการ จะพึงได้รับตามหลักเกณฑ์ ที่ กวพ.อ. กำหนด ราคาสูงสุด ที่กำหนดให้ใช้เป็นราคาเริ่มต้นการประมูล (ข้อ 3)

  8. ใช้แบบวิธีปิดราคา (Sealed bid auction) กำหนดระยะเวลาเสนอราคา ไม่น้อยกว่า 30-60 นาที ระหว่างเสนอราคา ให้ผู้เสนอราคา - เสนอราคาไม่สูงกว่าหรือเท่ากับราคาเริ่มต้นประมูล - เสนอราคาได้หลายครั้ง แต่ต้องไม่สูงกว่าราคาที่เคยเสนอ ช่วง 3-5 นาที สุดท้าย ระบบจะไม่แสดงราคาของผู้ใดว่ามีสถานะใด หมดเวลาให้ประธาน คกก. แจ้งสิ้นสุดกระบวนการเสนอราคา ให้ผู้เสนอราคาลงชื่อในแบบยืนยันราคาสุดท้าย(แบบ บก.008) วิธีการเสนอราคา

  9. การขยายเวลาเสนอราคา กรณีมีผู้เสนอราคาต่ำสุดเท่ากันหลายราย ไม่อาจชี้ขาดได้ให้คณะกรรมการขยายเวลาออกไปอีก ครั้งละ 3 นาที และให้ทุกราย เสนอราคาใหม่ จนกว่าจะได้ราคาต่ำสุด ให้ยืนยันราคาสุดท้ายอีกครั้งหนึ่ง วิธีการเสนอราคา (ต่อ)

  10. ความสัมพันธ์กับระเบียบอื่น (ข้อ 5) วิธีปฏิบัติใดที่มิได้กำหนดในระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่ไปกับ ส่วนราชการ ระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม รัฐวิสาหกิจ ระเบียบข้อบังคับ ของรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน ข้อบังคับของ องค์การมหาชน เว้นแต่ กวพ.อ. กำหนดหรือวินิจฉัยเป็นอย่างอื่น

  11. คณะกรรมการต่าง ๆ ตามระเบียบฯ นี้ คณะกรรมการ ประกวดราคา ตามโครงการ (มติ ครม.ลว. 21 ต.ค. 2551 ให้เป็นอำนาจของ หน.หน่วยงานแต่งตั้งได้) รายละเอียด คณะกรรมการ ว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) (ตามระเบียบฯ ข้อ 6) องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ คณะกรรมการกำหนด ร่างขอบเขตของงาน (TOR) และร่างเอกสาร ประกวดราคา (หัวหน้าหน่วยงาน แต่งตั้งได้เอง ตามข้อ 8 (1) ) รายละเอียด

  12. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) องค์ประกอบ : • ปลัดกระทรวงการคลัง เป็น ประธานกรรมการ • ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เป็น รองประธานกรรมการ • กรรมการ ประกอบด้วย อัยการสูงสุด, ผอ.สำนักงบประมาณ , เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา, ผู้แทน ปปง., ผู้แทนกรมสอบสวนคดีพิเศษ, ผู้แทนสำนักกำกับและบริหารโครงการ GFMIS, ผู้แทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, ผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยและผู้แทนสมาคมธนาคารไทย • อธิบดีกรมบัญชีกลาง(หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย) เป็น กรรมการและเลขานุการ

  13. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) • อำนาจหน้าที่: • ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ • พิจารณาอนุมัติยกเว้นหรือผ่อนผันการไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ • พิจารณาคำร้องเรียนและอุทธรณ์เกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้ • พิจารณาอนุมัติการดำเนินการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการอื่น • กำหนดหลักเกณฑ์และรายละเอียดการปฏิบัติ ในกระบวนการเสนอราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ • เสนอแนะการแก้ไขปรับปรุงระเบียบนี้ต่อคณะรัฐมนตรี • แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อดำเนินการต่างๆ ตามระเบียบนี้ หรือตามที่ กวพ.อ.มอบหมาย แล้วเสนอ กวพ.อ.พิจารณา เว้นแต่ กวพ.อ.จะมีมติมอบหมายให้ดำเนินการแทน กวพ.อ. ไปได้

  14. คณะกรรมการกำหนดร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR) และร่างเอกสารประกวดราคา • หัวหน้าหน่วยงานที่จะจัดหาพัสดุ เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ • องค์ประกอบ : หน่วยงานเป็นผู้กำหนดตามความเหมาะสม อำนาจหน้าที่ : • จัดทำร่างขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR) และร่างเอกสารประกวดราคา เพื่อนำไปเผยแพร่ลงในเว็บไซต์ • รับฟังคำวิจารณ์ ข้อเสนอแนะ ความเห็นที่เป็นลายลักษณ์อักษรจาก สาธารณชน • ปรับปรุงร่างขอบเขตของงาน และร่างเอกสารการประกวดราคา

  15. การแต่งตั้งคณะกรรมการร่างขอบเขตงาน (TOR) และร่างเอกสารประกวดราคา หลักให้เป็นดุลพินิจของหัวหน้าหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ จะแต่งตั้งจำนวนกี่คนก็ได้ตามที่เห็นว่าเหมาะสม มติ ครม. 16 ต.ค 50 ขยายเวลาตาม มติ ครม. 21 ต.ค. 51 (ที่ นร 0506/ว 333 ลว. 27 ต.ค. 51) ยกเว้น ไม่ต้องแต่งตั้ง คณะกรรมการร่าง TORในกรณีดังนี้ 1. วงเงินจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่เกิน 10 ล้าน 2. งานก่อสร้างที่มีแบบและข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานไว้แล้ว (แต่ยังต้องนำ TORและร่างประกาศประกวดราคาลง website)

  16. คณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการคณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ • อธิบดีกรมบัญชีกลางเป็นผู้แต่งตั้ง โดยหน่วยงานที่จะจัดหาพัสดุเป็นผู้เสนอ องค์ประกอบ: • ประธานกรรมการ1 คน จากบุคลากรในหน่วยงาน • กรรมการไม่น้อยกว่า 3 คน และไม่มากกว่า 5 คน ( ให้มีบุคคลที่มิได้ เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ รวมอยู่ด้วย 1 คน) • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุในหน่วยงานนั้นเป็นกรรมการและเลขานุการ • เจ้าหน้าที่พัสดุในหน่วยงานนั้นเป็นผู้ช่วยเลขานุการ

  17. การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคา/การคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดกลาง/การกำหนดวัน เวลาและสถานที่เสนอราคา มติคณะรัฐมนตรี 21 ต.ค 2551 ที่ นร 0506/ว 333 ลงวันที่ 27 ต.ค. 2551 ผ่อนผันดังนี้

  18. องค์ประกอบของคณะกรรมการ ประกวดราคาฯ (มติครม.21 ต.ค.51) ผ่อนผัน ไม่เกินวงเงิน10 ล้านบาท 1. ให้มีคณะกรรมการจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 7 คน 2. จะมีบุคคลภายนอก หรือไม่ก็ได้ 3. ให้มีบุคลากรของหน่วยงานเป็น กรรมการ และเลขานุการ วงเงินเกิน 10 ล้าน ขึ้นไป (คณะกรรมการองค์ประกอบเหมือนเดิม) ให้เจ้าหน้าที่พัสดุหรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น ในหน่วยงานนั้น เป็นกรรมการ และเลขานุการ จะแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการหรือไม่/ก็ได้ ระเบียบฯ 1.ประธานกรรมการ: บุคลากรในหน่วยงาน 2. กรรมการ (3 – 5 คน): (มีบุคคลภายนอกอย่างน้อย 1 คน) 3. หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ: กรรมการและเลขานุการ 4. เจ้าหน้าที่พัสดุ: ผู้ช่วยเลขานุการ

  19. อำนาจ/หน้าที่ของคณะกรรมการประกวดราคาฯอำนาจ/หน้าที่ของคณะกรรมการประกวดราคาฯ • อำนาจหน้าที่ • เผยแพร่เอกสารเชิญชวน โดยนำสาระสำคัญของเอกสารประกาศเชิญชวน เอกสารประกวดราคา และเอกสารเบื้องต้นอื่น ๆที่สามารถเผยแพร่ได้ลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลางเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน • กำหนดให้ผู้เสนอราคา- จัดทำข้อเสนอทางด้านเทคนิค- วางหลักประกันซอง- กำหนดวัน เวลา และสถานที่ที่ให้ยื่นซองข้อเสนอด้านเทคนิค

  20. อำนาจ/หน้าที่ของคณะกรรมการประกวดราคาฯ (ต่อ) • อำนาจหน้าที่ • รับซองข้อเสนอด้านเทคนิค(ดำเนินการรับซองตามระเบียบพัสดุฯ พ.ศ.2535 ตามข้อ 49 (1) – (4) ) • พิจารณาคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้นเพื่อหาผู้มีสิทธิเสนอราคา - คุณสมบัติของผู้ประสงค์จะเสนอราคาครบถ้วนหรือไม่- ยื่นเอกสารต่าง ๆ ครบถ้วนหรือไม่- ข้อเสนอด้านเทคนิค มีความเหมาะสมหรือไม่- เป็นผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่- แจ้งผู้ประสงค์จะเสนอราคาแต่ละรายทราบผลการพิจารณาเฉพาะ ของตน โดยไม่เปิดเผยรายชื่อดังกล่าวต่อสาธารณชน

  21. อำนาจ/หน้าที่ของคณะกรรมการประกวดราคาฯ (ต่อ) • อำนาจหน้าที่ • พิจารณารับข้อเสนอราคาของผู้มีสิทธิเสนอราคา หลังจากกระบวนการเสนอราคาสิ้นสุดลง /เสนอต่อหัวหน้าหน่วยงาน

  22. ฐานข้อมูลบุคคลภายนอกหน่วยงานจัดหาพัสดุ สามารถค้นหารายชื่อเข้าเป็นคณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการได้ที่ หรือหน่วยงานฯ สามารถคัดเลือกได้เองโดยตรง (หลักเกณฑ์ คัดเลือกบุคคล - ภายนอก ดูในแนวทางปฏิบัติ ข้อ 3) Website ของกรมบัญชีกลาง ที่ www.gprocurement.go.th

  23. ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ • บจก. ฟรีอินเตอร์เน็ท • 8) บจก. ดาต้าแมท • บจก. นิวตรอนการประมูล • บจก. อินเทลลิเจนท์ โซลูชั่น แอนด์เซอร์วิส • บจก. สเปซไวร์ • 12)บจก. สวนกุหลาบเซอรารี่ซิล • บมจ. กสท. โทรคมนาคม 2) บจก. บีส ไดเมนชั่น 3) บจก. พันธวณิช • บจก. ไอ ซี เอ็น ซิสเต็ม 5) บจก. ป๊อป เนทเวอรค์ 6) บจก. ซอฟแวร์ลิงค์

  24. ค่าใช้จ่ายของผู้ให้บริการตลาดกลางค่าใช้จ่ายของผู้ให้บริการตลาดกลาง กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุดที่ กค (กวพอ) 0408.3/ว 108 ลว. 27 มี.ค. 50 ค่าใช้จ่ายเดินทาง ค่าใช้จ่ายในการให้บริการเสนอราคา • คิดจากผู้ชนะราคา • คิดจากวงเงินที่ทำสัญญา /ให้แจ้งหนี้ • ได้เมื่อประกาศผลผู้ชนะราคา • ให้ผู้ชนะราคา ชำระก่อนทำสัญญา • คิดเฉพาะเดินทางจริง • ห้ามคิดกรณีมีสาขาในจังหวัดที่ให้บริการ • ห้ามคิดนอกเหนือที่กำหนด หรือ ลด แจก แถม • ของสมนาคุณให้แก่ผู้เสนอราคา/หรือหน่วยงาน • ที่จัดหาพัสดุ ไม่เกิน 2 ล้าน = 6,000 บาท เกิน 2 ล้าน - 10 ล้าน= 0.4 % (ไม่เกิน 10,000 บาท) เกิน10 ล้าน -25 ล้าน = 0.15% (ไม่เกิน 20,000 บาท) สูงกว่า 25 ล้าน= 0.10% (ไม่เกิน 30,000บาท) ระยะทางไม่เกิน 150 กม. = ไม่จ่าย 151 – 250 กม. = 2,500 บาท 251 – 500 กม. = 5,000 บาท เกิน 500 กม. = 10,000 บาท * กรณีไม่มีการทำสัญญา/ยกเลิกประกวดราคา ไม่คิดค่าใช้จ่าย หากเก็บไปแล้วให้คืนภายใน ๗วันนับจากรับแจ้งจากผู้ชนะราคา

  25. ขั้นตอนการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ขั้นตอนการจัดหาพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ การเตรียมดำเนินการ การยื่นซองข้อเสนอด้านเทคนิค การเสนอราคา

  26. 1.การเตรียมดำเนินการ • การกำหนดร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา : • หัวหน้าหน่วยงานแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา • คณะกรรมการฯ จัดทำร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา นำเสนอหัวหน้าหน่วยงานอนุมัติ • นำสาระสำคัญที่สามารถเผยแพร่ได้ประกาศทางเว็บไซต์ (ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง เป็นเวลาติดต่อกัน ไม่น้อยกว่า 3 วัน) เพื่อรับฟังคำวิจารณ์

  27. 1. การเตรียมดำเนินการ (ต่อ) • แนวทางการจัดทำร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา หัวข้อการร่าง TOR อย่างน้อยต้องมีสาระสำคัญ ดังนี้ 1) ความเป็นมา 2) วัตถุประสงค์ 3) คุณสมบัติผู้เสนอราคา 4) แบบรูปรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ 5) ระยะเวลาดำเนินการ 6) ระยะเวลาส่งมอบของหรืองาน 7) วงเงินในการจัดหา

  28. 1. การเตรียมดำเนินการ (ต่อ) • คณะกรรมการพิจารณาข้อวิจารณ์ กรณีเห็นสมควรปรับปรุง TOR ให้เสนอ หัวหน้าหน่วยงานเพื่อขอความเห็นชอบ แล้วนำลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลางอีกครั้งเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน ทั้งนี้จะประกาศทางสื่อมวลชนอื่นเพิ่มเติม ก็ได้ • กรณีไม่ต้องปรับปรุง TOR ให้นำ TOR ฉบับเดิมเสนอหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบ แล้วนำลงประกาศทางเว็บไซต์ของหน่วยงานและของกรมบัญชีกลางอีกครั้ง

  29. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0408.3/ว 302 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2549 ตามมติกวพ.อ. เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2549 • แนวทางการนำสาระสำคัญที่สามารถเผยแพร่ได้ของร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคาลงประกาศฯ  ในกรณีที่ไม่มีข้อเสนอแนะ หรือคำวิจารณ์ใด ๆ หน่วยงานไม่ต้องนำร่าง TOR และ ร่างเอกสารประกวดราคา ลงประกาศทางเว็บไซต์ฯ อีก  ในกรณีที่มีข้อเสนอแนะความเห็นหรือคำวิจารณ์ ก็ให้คณะกรรมการร่าง TOR และ ร่างเอกสารประกวดราคา พิจารณาว่า สมควรปรับปรุงหรือไม่ แล้วนำเสนอหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อขอความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง จะต้องนำประกาศทางเว็บไซต์ (ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง) อีกครั้งหนึ่ง ไม่น้อยกว่า 3 วัน

  30. สรุปการดำเนินการ ร่าง TOR เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา เจ้าหน้าที่พัสดุ แจ้งคำสั่งแต่งตั้งให้ คกก.ร่าง TOR/และร่างเอกสารประกวดราคาทราบ จัดทำร่างขอบเขตงาน TOR และร่างเอกสารประกวดราคา คกก.ร่าง TOR/ร่าง ประกาศ . เสนอหัวหน้าหน่วยงานที่จัดหา ขออนุมัติร่างฯ หัวหน้าหน่วยงาน ที่จัดหาพัสดุ อนุมัติร่าง TOR / ร่างเอกสารประกวดราคา

  31. นำสาระสำคัญร่าง TOR/ร่างเอกสารประกวด ราคาเผยแพร่ผ่าน Website ของหน่วยงาน/ กรมบัญชีกลาง www.gprocurement.go.th ไม่น้อยกว่า 3 วัน เจ้าหน้าที่พัสดุ • รับฟังประชาพิจารณ์ โดยเปิดเผยตัวเป็น ลายลักษณอักษร ผ่าน Website ของหน่วยงาน • ให้ คกก.TOR พิจารณา ปรับปรุง / ไม่ปรับปรุง • แล้วเสนอหัวหน้าหน่วยงานขอความเห็นชอบ คกก. ร่าง TOR / ประกาศประกวดราคา หัวหน้าหน่วยงานเห็นชอบ • กรณีไม่มีวิจารณ์ ไม่ต้องลงประกาศใน Websiteอีก • กรณีมีวิจารณ์ จะพิจารณาปรับปรุงหรือไม่ปรับปรุง • ก็ต้องลงประกาศใน Website (เป็นครั้งที่ 2) • อีกไม่น้อยกว่า 3 วัน • จะประกาศเพิ่มทางสื่อมวลชนก็ได้ (หนังสือเวียน กวพ.อ./ว 302 ลว 21 กค. 49) เจ้าหน้าที่พัสดุ

  32. 1. การเตรียมดำเนินการ (ต่อ) จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบหัวหน้าหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ พร้อมทั้งแต่งตั้งคณะกก.ประกวดราคา และคณะกรรมการอื่นๆ (ตรวจรับ/ตรวจงานจ้าง ผู้ควบคุมงาน ตามระเบียบพัสดุ) (ดูมติครม. 16 ต.ค. 50 ที่ นร. 0506/ว 151 ลว. 22 ต.ค. 50 ที่ผ่อนผัน) การทำรายงานของรัฐวิสาหกิจ/องค์การมหาชน/หน่วยงานอื่น ของรัฐ ปฏิบัติตามระเบียบ / ข้อบังคับ ของหน่วยงานนั้นๆ

  33. 1. การเตรียมดำเนินการ (ต่อ) หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคาจัดทำประกาศ ประกวดราคาและเผยแพร่ (โดยฝ่ายเลขานุการ) • 1. จัดทำประกาศและเอกสารประกวดราคา (ตามแบบ กวพอ.กำหนด) • ได้แก่ กำหนดวัน / เวลา / สถานที่ยื่นซองเทคนิค / วันเสนอราคา • ข้อเสนอด้านเทคนิค / การวางหลักประกันซอง / การจ่ายเงินล่วงหน้า/ • กำหนดเงื่อนไขการยึดหลักประกันซอง • 2. นำสาระสำคัญของประกาศประกวดราคา ออกเผยแพร่ทาง Website • ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง ไม่น้อยกว่า 3 วัน/ ปิดประกาศที่หน่วยงาน โดยเปิดเผยด้วย(กำหนดวันแจกจ่ายหรือจำหน่ายเอกสารต้องดำเนินการตั้งแต่ วันประกาศเชิญชวนใน website ไม่น้อยกว่า 3 วัน)

  34. การเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวนการเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวน • กรณีการแจกจ่าย หรือจำหน่ายเอกสารประกวดราคา • ต้องทำ ณ สถานที่ที่กำหนด และจะต้องจัดเตรียมเอกสารให้มากพอสำหรับความต้องการของผู้ขอหรือขอซื้อ ที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างทำงานนั้นรายละ 1 ชุด โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ในการให้หรือจำหน่าย • การแจกจ่ายเอกสารหรือจำหน่ายเอกสารประกวดราคา • ให้ดำเนินการตั้งแต่วันที่ประกาศเชิญชวน ซึ่งจะไม่น้อยกว่า 3 วัน นับแต่วันที่ที่ได้ประกาศในเว็บไซต์ของหน่วยงานและกรมบัญชีกลาง

  35. การเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวนการเผยแพร่เอกสารประกาศเชิญชวน หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ปิดประกาศ เผยแพร่ สถานที่ของหน่วยงาน จำหน่าย / แจก website ไม่น้อยกว่า 3 วัน นับแต่วันประกาศ หน่วยงาน www:gprocurement.go.th การเผยแพร่ ทำตามคู่มือการจัดทำประกาศ

  36. กำหนดระยะเวลาการรับซองข้อเสนอทางเทคนิคกำหนดระยะเวลาการรับซองข้อเสนอทางเทคนิค

  37. กำหนดระยะเวลาการรับซองข้อเสนอทางเทคนิคกำหนดระยะเวลาการรับซองข้อเสนอทางเทคนิค วันยื่นซองข้อเสนอ ทางเทคนิค (เลือกวันใดวันหนึ่ง) ช่วงเวลาประกาศ เชิญชวน /แจก / ขายเอกสาร ไม่น้อยกว่า 3 วัน ช่วงเวลา คำนวณราคา จัดทำเอกสาร วันประกาศ จันทร์ที่ 28 แจก / ขายเอกสาร วันที่ 29 – 30 - 31 หลังวันให้ / ขายเอกสาร ไม่น้อยกว่า 3 วัน ไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันสุดท้ายของการแจก / ขายเอกสาร วันที่ 1 – 2 – 3 วันสุดท้ายของการจำหน่ายจ่ายแจก วันที่ 4 ------------------------------30

  38. 2. การยื่นซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค • ผู้ประสงค์จะเสนอราคายื่นซองข้อเสนอด้านเทคนิคต่อคณะกรรมการประกวดราคา ณ ที่ทำการของหน่วยงานฯ ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการประกวดราคากำหนด • ผู้ประสงค์จะเสนอราคาต้องลงชื่อในหนังสือเงื่อนไข 3 ฝ่าย และยื่นมาพร้อมกับการยื่นซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค

  39. หน้าที่คณะกรรมการประกวดราคาเมื่อรับซองถือปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการประกวดราคาเมื่อรับซองถือปฏิบัติ • ส่วนราชการทำตามระเบียบฯ พัสดุ ปี ๓๕ ข้อ ๔๙ (๑) (๒) • (๓) และ (๔) (ลงทะเบียนรับซอง ลงชื่อกำกับ ตรวจหลัก • ประกันซอง รับเอกสารตามบัญชีรายการเอกสารของผู้เสนอราคา • ห้ามรับเอกสารอื่นใดเมื่อพ้นกำหนดเวลารับซอง) •  หน่วยงานอื่นปฏิบัติตามระเบียบของหน่วยงานนั้น / • หรือ กวพ.อ. กำหนด

  40. 3. การเสนอราคา วิธีคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้นผู้มีสิทธิเสนอราคา คณะกรรมการประกวดราคาตรวจสอบตามระเบียบพัสดุที่หน่วยงานถือปฏิบัติ เอกสารมีครบ ตามเงื่อนไข หรือไม่? คุณสมบัติของ ผู้เสนอราคา ถูกต้อง ตามเงื่อนไข หรือไม่? เป็นผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกันตามระเบียบฯ หรือไม่? ข้อเสนอด้านเทคนิค ถูกต้อง หรือไม่?

  41. วันยื่นซอง วันเสนอราคา(ยืนยันราคาสุดท้าย) สิ้นสุดวันยืนราคา 3. การเสนอราคา (ต่อ) วิธีตรวจสอบระยะเวลาการค้ำประกันในหนังสือค้ำประกันซอง หนังสือค้ำประกันซอง ต้องมีระยะเวลาค้ำประกันเริ่มตั้งแต่วันยื่นซองข้อเสนอทางด้านเทคนิค ครอบคลุมวันยืนยันราคาสุดท้ายไปจนถึงสิ้นสุดวันยืนราคา

  42. (หนังสือเวียน ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) 0408.4/ว 124 ลงวันที่ 9 เม.ย. 2550) ให้แก้ไขข้อความในตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ข้อ 5 วรรคแรก ตัวอย่างเดิม ผู้เสนอราคาต้องวาง หลักประกันซองพร้อมกับ การยื่นซองเอกสารทางด้าน เทคนิค จำนวน ... บาท โดยใช้หลักประกันซอง อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ... แก้ไขเป็น ผู้เสนอราคาต้องวางหลักประกันซองพร้อม กับการยื่นซองเอกสารทางด้านเทคนิค จำนวน ... บาท โดยหลักประกันซองจะต้อง มีระยะเวลาการค้ำประกันตั้งแต่วันยื่นซอง ข้อเสนอทางด้านเทคนิคครอบคลุมไปจนถึง วันสิ้นสุดการยืนราคา โดยหลักประกันให้ใช้ อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ...

  43. วิธีตรวจสอบการลงนามในหนังสือแสดงเงื่อนไขวิธีตรวจสอบการลงนามในหนังสือแสดงเงื่อนไข การซื้อหรือการจ้าง (สัญญา 3 ฝ่าย) ตลาดกลาง หน่วยงานที่จัดหาพัสดุ * ประธานกรรมการประกวดราคา ผู้เสนอราคา ต้องลงชื่อ/และยื่นในวันยื่นซองเทคนิค ลงชื่อในวันเสนอราคา แต่ก่อนเวลาเสนอราคา ลงชื่อในวันเสนอราคา แต่ก่อนเวลาเสนอราคา หลักการในวันเสนอราคา ก่อนเวลาเสนอราคา คณะกรรมการประกวดราคา จะนำสัญญา 3 ฝ่าย ที่รับไว้ในวันยื่นซองเทคนิคให้ผู้ให้บริการตลาดกลาง และ ประธานกรรมการ ลงชื่อ เมื่อลงชื่อครบ 3 ฝ่ายแล้ว แจกจ่ายให้เก็บไว้เป็นหลักฐาน (แบบตัวอย่าง– Down Load ได้จาก www.gprocurement.go.th)

  44. 3. การเสนอราคา (ต่อ) คณะกรรมการประกวดราคา แจ้งผลการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้นให้ผู้ประสงค์เสนอราคาทราบ เมื่อคณะกรรมการประกวดราคาตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว : • ให้แจ้งผลให้ผู้ประสงค์เสนอราคาแต่ละรายทราบ เฉพาะของตน • โดยไม่เปิดเผยชื่อต่อสาธารณะชน [แบบแจ้งผล บก 004 – 1 (ผนวก 10)]

  45. กรณีมีผู้ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้นรายเดียวกรณีมีผู้ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้นรายเดียว ปกติให้คณะกรรมการฯ เสนอยกเลิก เว้นแต่คณะกรรมการเห็นสมควรซื้อหรือจ้าง • ให้ต่อรองราคากับรายนั้นได้ • (หนังสือเวียน กวพ.อ. / ว 302 ลว 21 กค 49 ผ่อนผัน ดังนี้) • การเริ่มต้นดำเนินการใหม่ หากไม่มีการเปลี่ยนแปลง TOR และเอกสารประกวดราคา ให้ใช้ร่างเดิมได้ • กรณี ไม่มีการเปลี่ยนชื่อคณะกรรมการประกวดราคาตามข้อ 8 (2) • ก็ให้คณะกรรมการฯ ชุดนั้นดำเนินการต่อไปได้

  46. สิทธิอุทธรณ์ของ ผู้เสนอราคา กรณีไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น ผู้เสนอราคาที่ ไม่ผ่าน การคัดเลือก คุณสมบัติ เบื้องต้น มีสิทธิยื่นอุทธรณ์ต่อหัวหน้าหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ ข้อ 9 (3) ภายใน 3 วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง (กรอกแบบ บก 004 – 2 ผนวก 11) หากยื่นเกินกำหนด 3 วัน (ไม่พิจารณาอุทธรณ์) • ให้หน่วยงานที่จัดหาหยุดดำเนินงาน ในระหว่าง • การพิจารณาอุทธรณ์

  47. การพิจารณาอุทธรณ์ของหัวหน้าหน่วยงานการพิจารณาอุทธรณ์ของหัวหน้าหน่วยงาน กรณีไม่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น • ต้องแจ้งผลให้ผู้อุทธรณ์ แต่ละรายทราบ ภายในเวลา 7 วัน • นับแต่วันได้รับแจ้งอุทธรณ์ (กรอกแบบแจ้งผล บก 004 – 1) • 2. ถ้าไม่แจ้งผลการพิจารณา ภายใน 7 วันให้ถือว่า อุทธรณ์ฟังขึ้น • คำวินิจฉัยถือเป็นที่สุดในชั้นฝ่ายบริหาร • 4. ถ้าอุทธรณ์ฟังขึ้น ให้แจ้งคณะกรรมการประกวดราคา • เพิ่มรายชื่อเป็นผู้มีสิทธิเสนอราคา / และแจ้งผู้อุทธรณ์ทราบ • (กรอกแบบ บก 004 – 3 ผนวก 12)

  48. การแจ้งนัดหมายผู้มีสิทธิเสนอราคาการแจ้งนัดหมายผู้มีสิทธิเสนอราคา ที่ผ่านการคัดเลือกคุณสมบัติเบื้องต้น หน่วยงานที่จัดหาพัสดุ โดยคณะกรรมการประกวดราคา • แจ้งกำหนดวัน /เวลา /สถานที่เสนอราคาให้ผู้มีสิทธิเสนอราคา • ทราบ (ต้องเป็นวัน/ เวลาราชการแต่กระบวนการเสนอราคา • จะสิ้นสุดนอกเวลาราชการก็ได้) • พร้อมกับ ส่งใบแบบแจ้งชื่อผู้แทน ให้แก่ผู้มีสิทธิเสนอราคา • ให้นำมายื่นในวันเสนอราคาเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา • (กรอกแบบ บก 005 และบก 006ภาคผนวก 14)

  49. การคัดเลือก การอุทธรณ์และการแจ้งนัดหมาย • คุณสมบัติ • ข้อเสนอทางเทคนิค • การมีผลประโยชน์ร่วมกัน คกก.ประกวดราคา ผ่านรายเดียว ผ่านมากกว่า 1 ราย ไม่ผ่าน แจ้ง บก.004-1 แจ้ง บก.004-1 - หลัก ยกเลิก - ดำเนินการใหม่ อุทธรณ์ ใน 3 วัน หน.พิจารณาใน 7 วัน มีเหตุผล ต่อรองราคา เสนอ หน.หน่วย ฟังขึ้น แจ้ง บก.005 แจ้ง บก.004-3 ฟังไม่ขึ้น แนบ บก.006 ส่งข้อมูล บก.021 ให้ตลาดกลาง แจ้ง บก.004-1

  50. การปฏิบัติเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคาการปฏิบัติเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา • แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) การปฏิบัติของผู้ให้บริการตลาดกลางฯ 2) การปฏิบัติของคณะกรรมการประกวดราคา 3) การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการประกวดราคา 4) การปฏิบัติของผู้มีสิทธิเสนอราคา

More Related