360 likes | 767 Views
“ กรมควบคุมโรค ” กับ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ”. นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 2 4 พฤศจิกายน 2553. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการสนับสนุนการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ประจำปี 2554 กรมควบคุมโรค
E N D
“กรมควบคุมโรค”กับ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์อธิบดีกรมควบคุมโรค24 พฤศจิกายน 2553 เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการสนับสนุนการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ประจำปี 2554 กรมควบคุมโรค ในมุมมองผู้ปฏิบัติงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์ และสื่อมวลชน วันที่ 24 – 26 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมโวค พัทยา จังหวัดชลบุรี
วิสัยทัศน์ กรมควบคุมโรค “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563 ”
สำนักจัดการความรู้ ศูนย์สารสนเทศ สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สนง.คกก. วัคซีนแห่งชาติ สำนักบริหารโครงการ กองทุนโลก สำนักโรค ติดต่ออุบัติใหม่ สำนักวัณโรค สำนักงานควบคุม การบริโภคยาสูบ หน่วยงานภายใน ศูนย์อำนวยการบริหาร จัดการปัญหาเอดส์ สำนักโรคติดต่อทั่วไป สนง.คกก.ควบคุม เครืองดื่มแอลกอฮอล์ สำนักโรคไม่ติดต่อ สำนักโรคติดต่อ นำโดยแมลง ส.โรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคจาการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สถาบัน ราชประชาสมาสัย สถาบันบำราศนราดูร กองการเจ้าหน้าที่ กองแผนงาน กองคลัง กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงาน เลขานุการกรม กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร สคร.1 กรุงเทพฯ สคร. 2 สระบุรี สคร. 3 ชลบุรี สคร.4 ราชบุรี สคร. 5 นครราชศรีมา สคร.6 ขอนแก่น สคร. 7 อุบลราชธานี สคร.8 นครสวรรค์ สคร. 9 พิษณุโลก สคร. 10 เชียงใหม่ สคร. 11 นครศรีธรรมราช สคร. 12 สงขลา กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย กลุ่มพัฒนาวิชาการ กลุ่มแผนงานและประเมินผล กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ กลุ่มบริหารงานทั่วไป กลุ่มระบาดวิทยา และข่าวกรอง กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มพัฒนาองค์กร
บทบาท ภารกิจ ของกรมควบคุมโรค กับ ผู้ปฏิบัติงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์ และสื่อมวลชน ผู้ปฏิบัติงานสื่อสารประชาสัมพันธ์ สื่อมวลชน : สื่อสาร สะท้อนผลงาน
ดำเนินการ • ประชาสัมพันธ์จังหวัด • สื่อมวลชน • โทรทัศน์ • วิทยุ • หนังสือพิมพ์ • ............ • สื่อสาร • ประชาสัมพันธ์ • ติดตาม • สะท้อนผลงาน 6
กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... ....... 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??
นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ตุลาคม : รณรงค์วันอัมพาตโลกตุลาคม : รณรงค์วันอัมพาตโลก • พฤศจิกายน : รณรงค์เบาหวานโลก • ธันวาคม : วันเอดส์โลก • ธันวาคม : วันรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ครั้งที่ 1 • 27-30 ธันวาคม : วัณรณรงค์สวัสดีปีใหม่ไร้แอลกอฮอล์ • ธันวาคม 53 - 5 มกราคม 54 : การรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุทางถนน • ช่วงเทศกาลปีใหม่ กำหนดการรณรงค์ กรมควบคุมโรค ปี พ.ศ. 2553
กำหนดการรณรงค์ กรมควบคุมโรค ปี พ.ศ. 2554 • มกราคม : (วันเด็กแห่งชาติ) โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก • มกราคม : รณรงค์เรื่องโรคเรื้อน • มกราคม : วันรณรงค์ให้วัคซีนโปลิโอ ครั้งที่ 2 • กุมภาพันธ์ : โรคิดต่อทางเพศสัมพันธ์ (วันวาเลนไทน์) • มีนาคม : การรณรงค์ป้องกันเด็กจมน้ำ • มีนาคม : วันวัณโรคโลก • 21 – 25 มีนาคม : สัปดาห์รณรงค์วัณโรคโลก • 4-8 เมษายน : สัปดาห์รณรงค์ป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ • 10-12 เมษายน : วัณรณรงค์สงกรานต์ปลอดเหล้า • 11-17 เมษายน : รณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์
กำหนดการรณรงค์ กรมควบคุมโรค ปี พ.ศ. 2554 • 24-30 เมษายน : รณรงค์โรคมาลาเรีย และโรคเท้าช้าง • พฤษภาคม : วันแรงงานแห่งชาติ • 16-20พฤษภาคม : รณรงค์โรคไข้เลือดออก • พฤษภาคม : รณรงค์ความดันโลหิตสูงโลก • พฤษภาคม : รณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลกประจำปี 2554 • มิถุนายน : วันสิ่งแวดล้อมโลก • 26-27 กรกฎาคม : วันรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา • สิงหาคม : (วันแม่แห่งชาติ) โรคปอดบวมในเด็ก • กันยายน : รณรงค์วันหัวใจโลก • กันยายน : วันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (World Rabies Day) • 27-30 ธันวาคม : วันรณรงค์สวัสดีปีใหม่ไร้แอลกอฮอล์
พันธกิจ ปฏิบัติภารกิจของกรมควบคุมโรคตามที่กำหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ พ.ศ.2552 ด้วยวิธีการดังนี้ 1. ส่งเสริมกระบวนการประสานความร่วมมือกับเครือข่ายภายในและระหว่างประเทศในการผลิตและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ องค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เครื่องมือ กฎหมายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งการให้บริการเฉพาะโรคให้ได้มาตรฐานสากล 2. ส่งเสริม สนับสนุน ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้ ให้เครือข่ายและประชาชน 3. ผลักดัน และติดตามการบังคับใช้กฎหมายที่จำเป็นต่อการปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ 4. เตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพใหม่ ๆ ได้ทันการณ์ 5. พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบ กลไกของเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563 อำเภอ รพ.สต. สสจ. ยุทธศาสตร์ การดำเนินงานแบบมุ่งเน้นผลงาน เครื่องมือ : คุณลักษณะอำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 15
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญ 2550 มุ่งเน้นกระจายอำนาจ จังหวัด อำเภอ ตำบล พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ นโยบายรัฐมนตรี รพ.สต. สป. / กรม คร. SRRT
คำสั่งกรมควบคุมโรคที่ 868 / 2553 ลงวันที่ 27 กันยายน 2553 เรื่อง การปรับโครงสร้างสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 เป็นการภายใน 8 กลุ่ม ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป • กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย • กลุ่มพัฒนาวิชาการ • กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ • กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง • กลุ่มแผนงานและประเมินผล 6 กลุ่มพัฒนาองค์กร 7 กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้าน สาธารณสุข 8 กลุ่มบริหารทั่วไป
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563 พันธกิจ ปฏิบัติภารกิจของกรมควบคุมโรคตามที่กำหนดในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ พ.ศ. 2552 ด้วยวิธีการดังนี้ 1. ส่งเสริมกระบวนการประสานความร่วมมือกับเครือข่ายภายในและระหว่างประเทศในการผลิตและพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ องค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เครื่องมือ กฎหมายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ รวมทั้งการบริการเฉพาะที่ได้มาตรฐานสากล 2. ส่งเสริม สนับสนุน ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนความรู้ ให้เครือข่ายและประชาชน 3. ผลักดัน และติดตามการบังคับใช้กฎหมายที่จำเป็นต่อการปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ 4. เตรียมความพร้อมในการจัดการภาวะคุกคามและภัยสุขภาพใหม่ ๆ ได้ทันการณ์ 5. พัฒนาและประเมินศักยภาพระบบ กลไกของเครือข่ายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ภารกิจกรมควบคุมโรค หลัก ๆ มี 4 เรื่อง ตามบทบาทหน้าที่ของกรมวิชาการ • 1. ศึกษา วิจัย ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ปัจจุบันกรมควบคุมโรคมีบุคลากรที่ไม่ชำนาญ ดังนั้นเราอาจหาความรู้จากต่างประเทศที่เขาทำแล้วนำมาปรับใช้ • 2. นำความรู้ ประสบการณ์ ข้อมูลผลการวิเคราะห์มาพัฒนาเป็นผลผลิต ผลิตภัณฑ์ หมายถึงนำความรู้มาแปลงเป็นผลผลิต เช่น นำความรู้เรื่องไข้หวัดใหญ่ ผลักดันให้เกิดนโยบาย มาตรฐาน แนวทาง คู่มือ รณรงค์ ฯลฯ • 3. นำผลผลิต หรือ ผลิตภัณฑ์ส่งต่อไปยังเครือข่าย ลูกค้า พันธมิตรเพื่อให้นำไปใช้โดยวิธีการต่างๆ ให้ถึงประชาชน คือ หาแนวทางที่นำผลผลิตไปใช้ เช่น ด้านการตลาด หน้าที่นี้เป็นหน้าที่ใหญ่มาก ถ้าเราทำให้ดีประโยชน์จึงจะตกกับประชาชน บางเรื่องก็ดำเนินการเองถึงประชาชน • การประเมินผล ในอนาคต การประเมินจะยิ่งทวีความสำคัญ หลักใหญ่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือ การประเมินผลผลผลิตของเราเองว่า ทำได้ดี มีคุณภาพดีหรือไม่ และการประเมินผู้นำผลผลิตไปใช้ ใช้ได้ดี ใช้ได้ตามเกณฑ์หรือไม่ มีสาเหตุใด ติดขัดอะไรที่ไม่สามารถนำผลผลิตเราไปใช้ได้
บทบาท ภารกิจ กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงการดำเนินงานของหน่วยงานส่วนกลาง กับหน่วยงานส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค (สคร. 1-12)
ความเชื่อมโยงการดำเนินงาน ของหน่วยงานส่วนกลาง กับหน่วยงานส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค (สคร. 1-12) 1.ศึกษา วิจัย 2. พัฒนารูปแบบ แนวทาง หลักสูตร (Product) 3. ถ่ายทอด/ เครือข่าย 4. ประเมิน ปรับปรุง
บทบาท ภารกิจ กรมควบคุมโรค
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค 2552 กรมควบคุมโรค กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน สำนักงานเลขานุการกรม กองแผนงาน กองการเจ้าหน้าที่ กองคลัง สำนักจัดการความรู้ สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สถาบัน ราชประชาสมาสัย สถาบันบำราศนราดูร สนง.คกก. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สำนักโรค ไม่ติดต่อ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักโรคติดต่อ อุบัติใหม่ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักระบาดวิทยา สคร.1-12 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย กลุ่มพัฒนาวิชาการ กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มระบาดวิทยา และข่าวกรอง กลุ่มแผนงานและประเมินผล กลุ่มพัฒนาองค์กร กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้าน สาธารณสุข กลุ่มบริหารทั่วไป
สำนักวัณโรค สำนักจัดการความรู้ สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สนง.คกก. วัคซีนแห่งชาติ ศูนย์สารสนเทศ สำนักโรค ติดต่ออุบัติใหม่ ศูนย์อำนวยการบริหาร จัดการปัญหาเอดส์ สำนักงานควบคุม การบริโภคยาสูบ หน่วยงานภายใน สำนักบริหารโครงการ กองทุนโลก สำนักโรคติดต่อทั่วไป สนง.คกก.ควบคุมคุม เครืองดื่มแอลกอฮอล์ ส.โรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักโรคไม่ติดต่อ สถาบันบำราศนราดูร สำนักโรคจาการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักระบาดวิทยา สถาบัน ราชประชาสมาสัย สำนักโรคติดต่อ นำโดยแมลง กลุ่มตรวจสอบภายใน กองคลัง กองการเจ้าหน้าที่ กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร สำนักงาน เลขานุการกรม กองแผนงาน สคร.6 ขอนแก่น กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ สคร.1 กรุงเทพฯ สคร. 2 สระบุรี สคร. 3 ชลบุรี สคร.4 ราชบุรี สคร. 5 นครราชศรีมา สคร. 9 พิษณุโลก สคร.8 นครสวรรค์ สคร. 10 เชียงใหม่ สคร. 11 นครศรีธรรมราช สคร. 12 สงขลา กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย กลุ่มพัฒนาวิชาการ กลุ่มแผนงานและประเมินผล สคร. 7 อุบลราชธานี กลุ่มบริหารงานทั่วไป กลุ่มระบาดวิทยา และข่าวกรอง กลุ่มสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มพัฒนาองค์กร
ทิศทางการพัฒนา“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์อธิบดีกรมควบคุมโรค23 พฤศจิกายน 2553 เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการสนับสนุนการพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ประจำปี 2554 กรมควบคุมโรค ในมุมมองผู้ปฏิบัติงานด้านสื่อสารประชาสัมพันธ์ และสื่อมวลชน วันที่ 24 – 26 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมโวค พัทยา จังหวัดชลบุรี
“คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”“คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 27 6
1. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1.1 มีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 1.2 มีการประชุมสม่ำเสมอ 1.3 มีรายงานผลการประชุม 1.4 มีการนำผลจากการประชุมไปปฏิบัติ 1.5 มีการติดตามผลการดำเนินงาน 28
2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี 1.1 มีระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี - มีรายงานการเกิดโรครวดเร็ว ครบถ้วน ถูกต้อง - มีข้อมูล/สถิติ การเกิดโรค - มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ - มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการควบคุมป้องกันโรค 1.2 มีทีม ARRT ที่มีประสิทธิภาพ - ในระดับอำเภอ ø มีทีม SRRT อย่างน้อย 1 ทีม ø ทีม SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน - ในระดับตำบล ø มีทีม SRRT ทุกตำบล ø SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน 1.3 โรงพยาบาลชุมชนมีห้องปฏิบัติการ ตรวจ วินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออก 29
3. มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.1 มีเป้าหมายการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา 3.2 มีแผนควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข 3.3 มีแผนป้องกัน เตรียมความพร้อม ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ในภาวะฉุกเฉิน ø มีการซ้อมแผน ø มีตัวอย่างการดำเนินตามแผนเมื่อเกิดเหตุ ø มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและจัดทำข้อเสนอเพื่อปรับปรุง 30
4. มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 4.1 องค์การปกครอบส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. , เทศบาล , อบต. 4.2 กองทุนในพื้นที่ เช่น กองทุนสุขภาพตำบล ฯลฯ 4.3 CUP 4.4 องค์กรเอกชนอื่นๆ (.....) 31
5. มีผลสำเร็จของการควบคุมโรคที่สำคัญหรือปัญหา เช่น 5.1 ไข้เลือดออก 5.2 อหิวาตกโรค 5.3 วัณโรค 5.4 ......... 32
แนวทางการดำเนินงาน • พัฒนาระบบบริหารจัดการระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนอำเภอ ให้ได้ตามคุณลักษณะ • สื่อสาร ประชาสัมพันธ์สร้างกระแส กระตุ้น จูงใจให้หน่วยงานทุกภาคส่วน สนใจ เข้าร่วม • ติดตามประเมินผล ประกวด ยกย่อง ให้รางวัล • พัฒนาสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุขระดับจังหวัด อำเภอและตำบลที่ยังไม่ผ่านคุณลักษณะ