710 likes | 955 Views
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล เดือนสิงหาคม 2554. ด้านที่ 1 การดูแลด้านผู้ป่วย ( PCR) 18 ตัวชี้วัด. ด้านที่ 1 (ต่อ). 1.1 อัตราตายรวม(ผู้ป่วยใน) 1.2 อัตราตายทารกตายปริกำเนิด 1.3 อัตราการเกิดภาวการณ์ขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด
E N D
ด้านที่1 การดูแลด้านผู้ป่วย (PCR) 18 ตัวชี้วัด ด้านที่ 1 (ต่อ) 1.1 อัตราตายรวม(ผู้ป่วยใน) 1.2 อัตราตายทารกตายปริกำเนิด 1.3 อัตราการเกิดภาวการณ์ขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด 1.4 อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัมในหญิงที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาล 1.5 อัตรามารดาเสียชีวิต 1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก 1.7 อัตราการติดเชื้อ VAP 1.8 อัตราการติดเชื้อ CAUTI 1.9 อัตราการติดเชื้อ SSI 1.10 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน 1.11 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา 1.12 อัตราการเกิด ROP 1.13 ร้อยละผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยาSKภายใน 30 นาที 1.14 อัตราER Re-visitภายใน48 ชม.ด้วยอาการที่รุนแรง 1.15 ระยะเวลาตอบสนอง(Response time)ต่อการเรียกใช้ EMS <10 นาที 1.16 อัตราตายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยElective case ภายใน24 ชม. 1.17 อัตราผ่าตัดซ้ำ 1.18 อัตราการเกิด Seroma หลังผ่าตัดมะเร็ง เต้านม
1.1 อัตราตายผู้ป่วยในรวม ปี 2552-2554 เกณฑ์ต่ำกว่า 5%
5 อันดับการตาย ประจำเดือนสิงหาคม 2554 1. Lobar pneumonia, unspecified จำนวน 9 ราย 2. Septicaemia, unspecified จำนวน 8 ราย 3. Gastrointestinal haemorrhage, unspecified จำนวน 5 ราย 4. Cerebral infarction,unspecifiedจำนวน 3 ราย 5. Open wound of other parts of head จำนวน 3 ราย
1.2 อัตราตายปริกำเนิด ปี 2552-2554 ตายปริกำเนิด จำนวน 6 รายเสียชีวิต 1. ICU-เด็ก จำนวน 4 ราย 1.1 Respiratory Distress Syndrome 2 ราย (นอกเขต) 1.2 Cardiac Arrest c Preterm 1 ราย (นอกเขต) 1.3 Pulmonary Hemorrhage c Preterm 1 ราย (นอกเขต) 2. เด็กอ่อน จำนวน 1 ราย - Severe Birth Asphyxia (นอกเขต เสียชีวิตภายใน 1 วัน) 3. ห้องคลอด จำนวน 1 ราย - Still Birth (นอกเขต เสียชีวิตภายใน 1 วัน) เกณฑ์< 9 : 1000 การเกิดทารกทั้งหมด
1.3 อัตราการเกิดภาวะการขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด ( ในเขตที่รับผิดชอบ )ปี 2552-2554 เกณฑ์ 30:1,000 ทารกเกิดมีชีพ
1.4 อัตราเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2500กรัมในหญิงที่ฝากครรภ์ในโรงพยาบาล เกณฑ์ต่ำกว่า <7%
1.5 อัตรามารดาเสียชีวิต เกณฑ์< 18:100,000การเกิดทั้งหมด % % %
1.6 อัตราป่วยตายด้วยไข้เลือดออก % % % % เกณฑ์ต่ำกว่า < 0.13%
1.7 อัตราการติดเชื้อVAP เกณฑ์ < 10: 1,000 วันใช้เครื่องช่วยหายใจ
ข้อมูลการติดเชื้อ VAP ปีงบประมาณ 2554
1.8 อัตราการติดเชื้อ CAUTI เกณฑ์ < 5: 1,000วันคาสายสวน %
1.9 อัตราการติดเชื้อ SSI เกณฑ์ < 4.5 % • อัตราการติดเชื้อ SSI(02) • ห้องคลอด จำนวน 1 ราย • C/S ตัดไหม แผลบวมมีหนอง • สูติกรรมบน จำนวน 1 ราย • (S/P TAH,BSO,Appendectomy,BowelEvisccrution)
5 อันดับการ re-admit เดือนสิงหาคม 2554 1. Beta thalassaemiaจำนวน 18 ราย 2. Breast malignant neoplasm จำนวน 9 ราย 3. Unstable angina จำนวน 5 ราย 4. Acute subendocardial myocardial infarction จำนวน 4 ราย 5. Other haemoglobinopathies จำนวน 4 ราย 1.10 อัตราการเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน โดยไม่ได้วางแผน เกณฑ์ < 2.5 %
1.11 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา ราย ราย ราย ราย ราย เกณฑ์ 0 ราย
1.12 อัตราการเกิด ROP % % % เกณฑ์ 0%
1.13 ร้อยละผู้ป่วยSTEMIที่ได้รับยา SK ภายใน 30 นาที เกณฑ์ >40% *อยู่ระหว่างดำเนินงาน
1.14 อัตราER Re-visitภายใน48 ชม.ด้วยอาการที่รุนแรง เกณฑ์ 0%
1.15 ระยะเวลาตอบสนอง(Response time)ต่อการเรียกใช้ EMS <10 นาที เกณฑ์ >80%
1.16 อัตราตายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยElective case ภายใน 24 ชม. เกณฑ์ 0%
1.17 อัตราผ่าตัดซ้ำ อัตราการผ่าตัดซ้ำ จำนวน 1 ราย - ผู้ป่วย Admit ที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะและ ท่อน้ำดี โดย ผ่าตัดครั้งที่ 1 จากลำไส้อุดตัน (ประวัติเคยผ่าตัดนิ่ว 3 ครั้ง และผ่าตัดลำไส้อุดตัน 1 ครั้ง) ผ่าตัดครั้งที่ 2 กระเพาะปัสสาวะฉีกขาด เนื่องจากการผ่าตัด ครั้งแรก Cystectomy เกณฑ์ 0%
1.18 อัตราการเกิด Seroma หลังผ่าตัดมะเร็งเต้านม เกณฑ์ 0%
ด้านที่2 การมุ่งเน้นของผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่น 2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก 2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน 2.3 ความพึงพอใจของชุมชน 2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน)
2.1 ความพึงพอใจผู้ป่วยนอก เกณฑ์ >85%
2.2 ความพึงพอใจผู้ป่วยใน เกณฑ์ >85%
2.3 ความพึงพอใจของชุมชน เกณฑ์ >85%
2.4 ร้อยละข้อร้องเรียนที่ตอบสนองผู้ร้องเรียนได้ (ภายในเวลา 15 วัน) เกณฑ์ 100% NA
ด้านที่3 ผลลัพธ์ด้านการเงิน 3.1 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick Ratio) 3.2 อัตราเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) 3.3 อัตรารายรับต่อรายจ่าย (I/E Ratio)
3.1 อัตราส่วนสินทรัพย์สภาพคล่อง (Quick Ratio) เกณฑ์ ≥1%
3.2 อัตราเงินทุนหมุนเวียน (Current Ratio) เกณฑ์ ≥1.5%
3.3 อัตราส่วนเงินสดต่อหนี้สินที่ต้องชำระ ( Cash Ratio) เกณฑ์ ≥0.8%
ด้านที่ 4 ผลลัพธ์ด้านบุคลากรและระบบงาน 4.1 จำนวนงานวิจัย / R2R /mini research 4.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในหน่วยงาน 4.3 อัตราความผาสุกของเจ้าหน้าที่ 4.4 อัตราการ Turn Over Rate 4.5 อัตราการสัมผัสเชื้อ / บาดเจ็บ จากการปฏิบัติงาน Part 4
4.1 จำนวนงานวิจัย / R2R /mini research เกณฑ์ >5 เรื่อง/ปี
4.2 จำนวนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพในหน่วยงาน เกณฑ์ >10 เรื่อง/ปี
4.3 อัตราความผาสุกของเจ้าหน้าที่ เกณฑ์>85%
4.4 อัตราการ Turn Over Rate เกณฑ์ <1%
4.5 อัตราการสัมผัสเชื้อ / บาดเจ็บ จากการปฏิบัติงาน เกณฑ์ <1%
ด้านที่5 ผลลัพธ์ด้านระบบงานและกระบวนการสำคัญ ด้านที่5 (ต่อ) 5.9 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยผู้ป่วยนอก 5.10 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก 5.10.1 จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยนอก(Prescribing error) 5.10.2 จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยนอก(Dispensing error) 5.11 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยใน 5.11.1 จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยใน (Prescribing error) 5.11.2 จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยใน (Dispensing error) 5.11.3 จำนวนครั้งความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา 5.12 อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียน ผู้ป่วยใน 5.13 ระบบบำบัดน้ำเสียผ่านเกณฑ์มาตรฐาน - ค่า BOD น้ำเข้า - ค่า BOD น้ำออก - ความเป็นกรดด่าง - สารแขวนลอย (Suspended Solids;SS) - ตะกอนหนัก 5.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ 5.2 จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ทางคลินิก ระดับ GHI 5.3 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ G H I ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA การแก้ไขเชิงระบบ 5.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ซ้ำในระดับ G H I 5.5 อัตราตัวชี้วัดด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยตามPatient safety goal ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 5.6 อัตราการครองเตียง 5.7 อัตราเครื่องมือแพทย์สำคัญได้รับการสอบเทียบ( เครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง) 5.8 อัตราความสามารถตอบสนองความต้องการบริการเครื่องมือทั่วไป(Infusion Pump ,monitor)
5.1 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ เกณฑ์ >80%
5.2 จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ทางคลินิก ระดับ GHI ครั้ง ครั้ง เกณฑ์ 0 ครั้ง
5.3 ร้อยละของอุบัติการณ์ระดับ E ขึ้นไปที่ได้รับการหา RCA แก้ไขเชิงระบบ เกณฑ์100% NA
5.4 ร้อยละของอุบัติการณ์ซ้ำในระดับ G H I เกณฑ์ 0%
5.5 อัตราตัวชี้วัดด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยตามPatient safety goal ผ่านเกณฑ์คุณภาพ เกณฑ์ 100%
5.6 อัตราการครองเตียง เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 80%
5.7 อัตราเครื่องมือแพทย์สำคัญได้รับการสอบเทียบ (เครื่องมือที่มีความเสี่ยงสูง) เกณฑ์100%
5.8 อัตราความสามารถตอบสนองความต้องการบริการเครื่องมือทั่วไป(Infusion Pump ,monitor) เกณฑ์ >70% *อยู่ระหว่างดำเนินการ
5.9 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยผู้ป่วยนอก เกณฑ์<180%
5.10.1 จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยนอก(Prescribing error) เกณฑ์<15 ครั้ง/1000ใบสั่งยา
5.10.2 จำนวนจ่ายยาผิดผู้ป่วยนอก(Dispensing error) เกณฑ์< 2 ครั้ง/1000 ใบสั่งยา
5.11.1 จำนวนสั่งยาผิดผู้ป่วยใน (Prescribing error) เกณฑ์< 35 ครั้ง/1000วันนอน